- อาหารเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง
- น้ำตาลมะพร้าว ที่สายเฮลตี้ ( HEALTHY ) ไม่ควรพลาด
- สรรพคุณและประโยชน์ของพุทราจีน
- กระเจี๊ยบเขียว ผักพื้นบ้านแหล่งแคลเซียมจากธรรมชาติ
- ไวรัส RSV อาการ การป้องกัน และการรักษา
- มะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลไม้รสเปรี้ยวฆ่ามะเร็งและเนื้องอก
- นมอัดเม็ด ไม่มีน้ำตาลช่วยป้องกันฟันผุ
- ร้อนในเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง
- วิธีการประเมินความเสี่ยงความเครียด ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตนเอง
- โรคเครียด สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
- ฟันผุ สามารถรักษาและป้องกันได้
- วิธีแก้ท้องผูกง่าย ๆ บทความนี้ช่วยคุณได้
- ไฟเบอร์พรีไบโอติกมีประโยชน์ต่อระบบขับถ่ายอย่างไร
- แลคโตบาซิลลัส จุลินทรีย์นี้มีประโยชน์อย่างไร
- ชีสกินกับอะไรก็อร่อย คัดเฉพาะเมนูชีสเด็ดๆ มาพร้อมเสริฟ
- มหัศจรรย์นมผึ้ง รักษาอาการวัยทองเห็นผลดีเยี่ยม
- โยเกิร์ตดีต่อคนรักสุขภาพ
- คอลลาเจนคืออะไร กินคอลลาเจนตอนไหนดี บทความนี้มีคำตอบ
- นมเปรี้ยว เครื่องดื่มที่ได้ทั้งสุขภาพและความงามที่สาว ๆ ไม่ควรพลาด
- นม ( Milk ) ป้องกันมะเร็ง หลอดเลือดหัวใจได้จริงหรือไม่?
- กิมจิ ( Kimchi )
- ผักชีล้อม ประโยชน์ และเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
- ไฝเกิดจากอะไร เกิดตำแหน่งไหนได้บ้าง เอาไฝออกอย่างไร
- วิธีลดกลิ่นตัว ทำยังไงให้กลิ่นตัวอันไม่พึงประสงค์หายไป
- เท้าเหม็น ดับกลิ่นเท้าอันไม่พึงประสงค์ได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
- ห้อเลือด เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ภูมิแพ้ผิวหนัง เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- เล็บอักเสบ เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ผึ้งต่อย บรรเทารักษาอาการจากการโดนผึ้งต่อยอย่างไร
- เล็บเป็นคลื่น เกิดจากอะไร บ่งบอกอะไรได้บ้าง
- เชื้อราที่เล็บ เกิดจากอะไร ดูแลรักษาและป้องกันอย่างไร
- เมล็ดเจีย ( Chia Seed ) Super Food ระดับโลก
- หินเกลือดำ ( Volcanic Rock Salt ) คืออะไร
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์บี ( Influenza B ) คืออะไร
- ปฏิบัติตามอย่างถูกวิธี ช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันไวรัสโควิด-19
- วัยทองในผู้ชาย ( Male Menopause ) มีอาการอย่างไร
- แอลคาร์นิทีน ( L- Carnitine ) มีประโยชน์อย่างไร
- หนอนไหม ( Silkworm ) อุดมไปด้วยโปรตีน
- งาขี้ม่อน หรือ งาขี้ม้อน มีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างไร
- โควิด 2019 ( COVID19 )
- คอลลาเจนไทพ์ทู ( Collagen Type II ) มีประโยชน์อย่างไร
- L-Arginine ( แอล-อาร์จินิน ) มีประโยชน์อย่างไร
- ช็อกโกแลต หรือดาร์กช็อกโกแลต
- โกโก้ ( Cocoa ) เมล็ดจากต้นคาเคา ( Cacao )
- เพศสัมพันธ์ ( Sex ) สายใยแห่งรัก
- โรคฉี่หนู ( Leptospirosis ) ภัยเงียบที่มากับหน้าฝนและน้ำท่วม
- สบู่สมุนไพร เพื่อสุขภาพ
- ชงโค สมุนไพรไม้ประดับ สรรพคุณเป็นยาดับพิษไข้ แก้ไอ
- โรคภูมิแพ้ ( Allergy ) เกิดจากอะไร
- ลิ้นหัวใจรั่ว ( Heart Valve Regurgitation ) เป็นอย่างไร ?
- โรคถุงลมโป่งพอง ( Emphysema )
- ภาวะวุ้นตาเสื่อม ( Vitreous Degeneration ) เป็นอย่างไร
- โรคหัด ( Measles ) เกิดได้กับใครบ้าง ?
- สาเหตุการเกิด โรคพยาธิใบไม้ตับ ( Opisthorchiasis )
- ดาวน์ซินโดรม ( Down Syndrome ) เกิดจากอะไร
- ตกขาว ( Leukorrhea หรือ Vaginal Discharge )
- กรดไหลย้อน ( Gastroesophageal Reflux Disease : GERD )
- กัญชากับยาแพทย์แผนไทย
- โรคตากุ้งยิง ( Stye หรือ Hordeolum )
- ออทิสติก ( Autistic Disorder ) คืออะไร
- โรคต้อหิน ( Glaucoma ) เป็นอย่างไร
- โรคพิษสุนัขบ้า ( Rabies ) เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
- ผ้าอนามัยกัญชาลดอาการปวดประจำเดือน ?
- โรคไข้สมองอักเสบ ( West Nile )
- ต่อมทอนซิลอักเสบ ( Tonsillitis )
- โรคพิษสุราเรื้อรัง ( Alcoholism )
- โรคคอตีบ ( Diphtheria )
- โรคเริม ( Herpes Simplex )
- ข้อมูลน่ารู้เรื่องกัญชา
- อาหารที่มีส่วนผสมกัญชารสชาติอร่อยจริงหรือ ?
- โรคบาดทะยัก ( Tetanus )
- โรคไบโพลาร์ ( Bipolar Disorder )
- โรคงูสวัด ( Herpes Zoster )
- โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE ( Systemic Lupus Erythematosus, SLE )
- โรคดักแด้ ( Epidermolysis Bullosa )
- โรคคางทูม ( Mumps ) คืออะไร
- ไข้หูดับ หรือโรคติดเชื้อ สเตรฟโตคอกคัส ซูอิส ( Streptococcus Suis )
- โรคสังคัง ( Tinea Cruris )
- โรคตาแดง ( Conjunctivitis )
- โรคปอดบวม ( Pneumonia )
- โรคอีสุกอีใส ( Chickenpox / Varicella )
- โรคสายตาสั้น ( Myopia )
- โรคต้อลม ( Pinguecula )
- โรคต้อกระจก ( Cataract )
- ตาบอดสี เกิดจากสาเหตุอะไร รวมวิธีทดสอบตาบอดสี
- ตาบอดข้างใดข้างหนึ่ง ( Blindness / Vision Impairment )
- โรคกลาก ( Ringworm )
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A ( Influenza A หรือ H1N1 )
- วัณโรค ( Tuberculosis ) เกิดได้อย่างไรกัน
- โรคจอประสาทตาเสื่อม ( Age-related Macular Degeneration – AMD )
- น้ำมันพริกไทยดำสกัดเย็น ( Cold Pressed Pepper Oil )
- ไข้เลือดออก ( Dengue hemorrhagic fever )
- โรคแพ้เหงื่อตัวเอง ( Allergic dermatitis )
- กระจกตาอักเสบเรื้อรัง ( Keratitis )
- โรคลมแดดหรือโรคฮีทสโตรก ( Heat Stroke )
- น้ำมันเมล็ดกระบกสกัดเย็น ( Cold pressed wild almond oil )
- น้ำมันเมล็ดเจียสกัดเย็น ( Cold pressed chia seed oil )
- น้ำมันลูกเดือยสกัดเย็น ( Cold pressed millet oil )
- น้ำมันเมล็ดองุ่นสกัดเย็น ( Cold pressed grape seed oil )
- น้ำมันกระเทียมสกัดเย็น ( Cold pressed garlic oil )
- ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ( SANGYOD RICE )
- น้ำมันมะรุมสกัดเย็น ( Cold pressed Moringa oil)
- ข้าวขาว น้ำตาลต่ำ ข้าวกข 43 ( RD43 )
- น้ำมันงาดำสกัดเย็น ( Cold pressed black sesame )
- น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ( Cold pressed sacha inchi oil )
- น้ำมันพริกสกัดเย็น ( Clod Pressed Capsicum )
- น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว ( Cold Pressed Rice Bran Oil )
- กัญชา ( Marijuana ) สมุนไพรทางเลือก
- ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร และส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร
- รักษาฝ้าด้วยหัวไชเท้า ( Radish Essentials )
- งา ( sesame ) เมล็ดพืชที่ไม่ควรมองข้าม
- กาแฟอาราบิก้า ( Arabica )
- การเลือกรับประทานอาหารตามเวลาที่เหมาะสม
- การคำนวณแคลอรี่จากผลไม้รถเข็น
- ความเครียดมีผลกระทบต่อร่างกาย
- วิธีการใช้ยาคุมกำเนิดแบบต่างๆ
- เต้านมสองข้างไม่เท่ากันแก้ไขได้ไหม
- มังคุด ประโยชน์และสรรพคุณที่คาดไม่ถึง
- ว่านเพชรหึงสรรพคุณทางยาที่ไม่ธรรมดา
- ถาม-ตอบ ปัญหากล้ามเนื้อตึงรั้งอาการเจ็บปวดเมื่อยล้าจากภาวะโรคออฟฟิศซินโดรม
- ประโยชน์ของกระดูกสันหลังและ 7 พฤติกรรมที่ทำร้ายกระดูกสันหลัง
- อาหารและโภชนาการที่เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
- วิธีเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันธรรมชาติ
- เล่นน้ำสงกรานต์อย่างไรให้สนุกและปลอดภัย 2019
- ภูมิคุ้มกันในร่างกายคืออะไร
- สเต็มเซลล์ ( Stem Cell ) คืออะไร
- วิธีดูแลตัวเองให้ห่างไกลโรคข้อและกระดูก
- ทำอย่างไรไม่ให้หิวบ่อย
- ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว
- ลำไส้และจิตใจกำหนดพลังภูมิคุ้มกันที่ใหญ่สุดในร่างกาย
- น้ำมันมะกอกมีคุณประโยชน์อย่างไร ( Olive Oil )
- ประโยชน์ของน้ำมันตับปลา ( Cod Liver Oil )
- ผลิตภัณฑ์นมคืออะไร? ( Milk Product )
- ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ( Oxidation ) คืออะไร
- อาหารต้านความเสื่อมของร่างกาย
- อาหารที่เหมาะสมเมื่อเป็นโรคปลายประสาทเสื่อม
- มารู้จักสารให้ความหวานกันเถอะ
- เส้นใยอาหาร ประโยชน์จากธรรมชาติช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด
- สาเหตุและอาการของโรคหัวใจ
- ประโยชน์ของน้ำมันคาโนลา ( Canola Oil )
- สาเหตุและอาการของโรคซึมเศร้า
- พลังงานที่พอดีมาจากปริมาณอาหารเท่าใด ?
- วิธีการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
- แสงแดดรักษาดวงตาให้คงทน
- แสงแดดช่วยรักษากระดูก
- เตรียมพร้อมช็อปปิ้งอาหารลดโรคคุมเบาหวาน
- เตรียมพร้อมโภชนาการก่อนตั้งครรภ์ สำหรับหญิงที่ต้องการมีบุตร
- อาหารการกินช่วยถนอมเต้า
- เป็นเบาหวาน จะกินอย่างไรในเดือนเราะมะฎอน หรือรอมฎอน
- อาหารเพิ่มสมรรถภาพทางเพศมีจริงหรือ ?
- อาหารช่วยลดอาการปวดท้องช่วงมีรอบเดือน
- อาหารช่วยปรับเปลี่ยนอารมณ์ ปรับสมดุลสมอง
- โรคเกาต์ ( Gout ) เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ?
- อาหารชะลอสายตาเสื่อม
- อาหารกับต่อมไทรอยด์
- พลังงานที่ร่างกายต้องการ
- โภชนาการสำหรับสุขภาพผมที่ดี
- โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้ชาย
- แสงแดดมีประโยชน์มากกว่าที่คุณคิด
- แหล่งกำเนิดของน้ำมันไข
- แสงแดดเสริมสร้างกระดูก
- มารู้จักฉลากโภชนาการกันเถอะ
- โภชนาการเพื่อสุขภาพผิวสวย
- อาหารที่ทำให้แก่ช้ามีอะไรบ้าง
- เลือกรับประทานอย่างไรให้นอนหลับง่ายขึ้น
- กินอาหารมังสวิรัติช่วยให้ห่างไกลโรค
- อาหารบำบัดอาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง
- การเลือกรับประทานอาหารต้านความเครียด
- พลังงาน 5 ชนิดในร่างกายที่ควรรู้
- 7 ขั้นตอนสร้างสมดุลให้ชีวิต
- การสูญเสียคุณค่าของสารอาหาร ( Nutrient Losses )
- เมื่ออาหารเข้าปาก เกิดกระบวนการอะไรขึ้นในร่างกาย
- 6 พืชผักสมุนไพรกับการช่วยดูแลสุขภาพ
- ดูแลชีวิต พิชิตโรค
- กล้ามเนื้อหัวใจตาย เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต
- ประโยชน์ทั่วไปของไขมันบริโภค
- อาหารที่ช่วยเสริมภูมิต้านทาน
- แสงแดดช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจได้อย่างไร?
- ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปใช้สารปรุงแต่งอะไรบ้าง?
- เลือกอาหารให้เหมาะกับผู้สูงวัยอย่างไร?
- มาตรฐานน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำประปาที่ดีควรเป็นเช่นไร
- ประเภทและประโยชน์ของน้ำมันไขจากพืช
- น้ำมันพืช กับ น้ำมันหมู อะไรดีกว่ากัน ?
- เราควรดื่มน้ำวันละ 8 แก้วจริงหรือ?
- อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเลือดจาง
- สารให้รสหวานแทนน้ำตาล
- การจำแนกประเภทของน้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหาร
- อาหารสำหรับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาต
- กินน้ำตาลอย่างไร ไม่ให้เสียสุขภาพ
- โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา ( Stroke )
- ชนิดของกรดไขมัน ( Fatty Acid ) และไขมันทรานส์ ( Trans Fat )
- การรับประทานผักประจำวันที่เหมาะกับคนไทย
- โรคเมตาโบลิกซินโดรม ( Metabolic Syndrome )
ภูมิต้านทาน
ทุกวันนี้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าคนเราต่างได้รับเชื้อโรคและแบคทีเรียต่างๆ เข้าสู่ร่างกายผ่านการกินอาหารและการดื่มน้ำเสมอ แต่จะส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพบ้างนั้นก็ขึ้นอยู่กับว่าร่างกายมีภูมิต้านทานมากน้อยแค่ไหนนั่นเอง โดย ภูมิต้านทาน ของคนเราก็ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยด้วยกัน เช่น อายุ กรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสารอาหารที่กินเข้าไป เพราะสารอาหารบางชนิดมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างภูมิต้านทานให้แข็งแรงขึ้นได้ เช่น วิตามินซี ที่จะช่วยเสริมภูมิต้านทานและทำให้ไม่เจ็บป่วยได้ง่ายนั่นเอง
ร่างกายต้องการสารอาหารหลากชนิดเพื่อเสริมภูมิต้านทาน
จริงๆ แล้วการเสริมภูมิต้านทานให้กับร่างกายไม่จำเป็นต้องเสริมด้วยวิตามินหรือแร่ธาตุในปริมาณมาก แต่ต้องเสริมในปริมาณที่พอเหมาะและได้สัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้ร่างกายมีการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด และที่สำคัญควรได้รับสารอาหารที่หลากหลายด้วย ไม่ใช่แค่สารอาหารเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น
ดังจะเห็นได้ว่าสารอาหารบางชนิดหากได้รับมากเกินไปก็จะเป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลเสียแทน เช่น ธาตุเหล็กหากได้รับมากไปจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ ธาตุสังกะสีจะไปลดการดูดซึมของแร่ธาตุทองแดง และการได้รับทองแดงมากไป ก็จะก่อให้เกิดอนุมูลอิสระและทำลายดีเอ็นเอได้เช่นกัน จึงสรุปได้ว่าการกินอาหารเพื่อเสริมภูมิต้านทานนั้น ควรกินในปริมาณที่พอเหมาะและกินอย่างหลากหลายจะให้ผลดีที่สุด โดยเฉพาะในวัยสูงอายุไม่ควรละเลยการกินอาหารเพื่อเสริมภูมิต้านทานเด็ดขาด
วิตามินอีเพิ่มภูมิต้านทาน
จากการวิจัยพบว่า วิตามินอีมีความสำคัญต่อการเพิ่มภูมิต้านทานที่สุด โดยจะช่วยเสริมภูมิต้านทานให้แข็งแรงและลดความเสี่ยงการป่วยด้วยโรคร้ายต่างๆ ได้ดี ซึ่งจากข้อมูลการวิจัยก็ได้มีการสนับสนุนให้ผู้สูงอายุกินวิตามินอีเสริมให้ได้วันละ 200 ไอยู โดยอาจกินจากอาหารโดยตรงหรือกินจากอาหารเสริมก็ได้ แต่ต้องระมัดระวังอย่าให้ได้รับในปริมาณที่มากเกินไป เพราะจะก่อให้เกิดผลเสียแทนนั่นเอง
ไขมันกับระบบภูมิต้านทาน
ไขมันที่มองว่าควรเลี่ยงก็มีบทบาทที่สำคัญต่อระบบภูมิต้านทานเช่นกัน โดยพบว่าหากกินไขมันที่ต่ำเกินไปก็จะลดภูมิต้านทานลงได้ และหากกินไขมันที่สูงเกินไปก็จะทำให้อ้วนและมีปัญหาต่างๆ ตามมาเช่นกัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าไม่ควรงดกินไขมันในทีเดียว แต่ให้กินในปริมาณที่เหมาะสมแทนนั่นเอง โดยไขมันที่จำเป็นต่อภูมิต้านทานก็คือ กรดไขมันจำเป็นไลโนเลอิกและกรดไขมันจำเป็นแอลฟาไลโนเลอิก ซึ่งสามารถพบได้มากในปลาทะเล น้ำมันคาโนลาและวอลนัท เป็นต้น โดยทั้งนี้หากได้รับไขมันเหล่านี้ไม่เพียงพอก็จะสังเกตได้จากการที่แผลหายช้า โดยเป็นตัวบอกได้ว่าภูมิต้านทานได้ทำงานลดลงไปนั่นเอง
โรคหวัดกับภูมิต้านทาน
เมื่อภูมิต้านทานต่ำก็มักจะส่งผลให้ป่วยด้วยโรคหวัดที่เกิดจากเชื้อไวรัสได้ง่าย ซึ่งโรคนี้ยังไม่มียาที่จะใช้รักษาได้โดยตรง จึงต้องรักษาตามอาหารแทน รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเล็กน้อย คือดื่มน้ำต่อวันให้มากๆ และพักผ่อนอย่างเพียงพอนั่นเอง ทั้งนี้หลายคนมีความเข้าใจว่าการกินวิตามินซีสูงจะช่วยป้องกันและรักษาอาการหวัดได้ แต่ความจริงแล้วการกินวิตามินซีที่ 2,000 มิลลิกรัมจะช่วยลดความรุนแรงของโรคได้เท่านั้น ไม่สามารถรักษาให้หายได้อย่างที่หลายคนเข้าใจ และที่สำคัญในเด็ก หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ไม่ควรกินวิตามินซีในปริมาณสูงเด็ดขาด เพราะจะทำให้เป็นนิ่วในไตและอาจมีอาการถ่ายท้องบ่อยได้นั่นเอง
อย่างไรก็ตามการกินวิตามินซีไม่ควรกินเกินวันละ 1,000 มิลลิกรัม และควรแบ่งกินเป็น 2 ครั้ง คือครั้งละไม่เกิน 500 มิลลิกรัม เพื่อให้ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ในขณะที่การกินวิตามินซีวันละ 2,000 มิลลิกรัมขึ้นไปอาจทำลายแบคทีเรียชนิดดีและลดการทำงานของภูมิคุ้มกันได้เลยทีเดียว ส่วนผู้ที่เป็นหวัดแนะนำให้ดื่มน้ำส้มคั้นจะดีที่สุด เพราะจะได้ทั้งน้ำ และวิตามินซีที่มีความจำเป็นต่อการเสริมภูมิต้านทานและลดอาการหวัด และนอกจากนี้ก็ยังมีสมุนไพรบางชนิดที่สามารถนำมาใช้เพื่อเพิ่มภูมิต้านทานได้อีกด้วย ซึ่งได้แก่ โสม กระเทียม ขมิ้น เห็ดชิตาเกะ เห็ดหลินจือและเอคินาเซีย เป็นต้น
อาหารและสมุนไพรเพิ่มภูมิต้านทาน
อยากมีสุขภาพแข็งแรงและภูมิต้านทานสูง ก็ต้องกินอาหารและสมุนไพรที่มีส่วนช่วยในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโดยเฉพาะ รวมถึงพยายามระมัดระวังการขาดสารอาหารบางชนิดด้วย เพราะจะส่งผลให้ภูมิคุ้มกันลดต่ำลงได้นั่นเอง ซึ่งจากการวิจัยก็ได้มีการสนับสนุนให้คนเราบริโภคอาหารที่หลากหลายมากขึ้น และกินในปริมาณที่เหมาะสมที่สุด เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและครบถ้วน รวมถึงได้รับสารพฤกษเคมีที่เป็นตัวช่วยสำคัญในการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายเช่นกัน
และด้วยอายุที่มากขึ้นจะมีความสัมพันธ์กับระบบภูมิคุ้มกันที่ลดประสิทธิภาพลงไปเรื่อยๆ จึงควรแก้ไขด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสียใหม่ เพื่อชะลอการเสื่อมของระบบภูมิคุ้มกันและให้ร่างกายยังคงแข็งแรงอยู่เสมอ ซึ่งสามารถทำได้ด้วยการออกกำลังกายเป็นประจำ งดการสูบบุหรี่ ลดความเครียดและปรับโภชนาการอาหารให้เหมาะสมกับช่วงวัยที่สุด โดยสิ่งสำคัญก็คือการเน้นกินผักผลไม้ให้หลากหลาย และกินถั่วกับปลาทะเลให้ได้สัปดาห์ละ 2-3 ครั้งนั่นเอง นอกจากนี้ควรกินอาหารไขมันในปริมาณที่พอเหมาะไม่ต่ำและไม่สูงจนเกินไป โดยอาจจำกัดไขมันให้ต่ำกว่า 30% ของพลังงานนั่นเอง
ส่วนกรณีบางคนที่จำเป็นต้องกินวิตามินและแร่ธาตุเสริมควรกินแค่วันละ 1 เม็ดก็พอ และควรกินวิตามินอีเสริมจากอาหารธรรมชาติโดยตรงให้ได้วันละไม่เกิน 200 ไอยูด้วย
ตารางอาหารที่มีผลต่อภูมิต้านทาน
สารอาหาร | ผลต่อภูมิต้านทาน | แหล่งอาหารที่มีมาก |
เบต้าแคโรทีน (วิตามินเอ) | เพิ่มการทำงานของเซลล์ที่ดักจับเชื้อโรค (Killer Cell) | แครอท ฟักทอง มันเทศ ผักใบเขียวจัด แคนตาลูป มะปรางสุกมะม่วงสุก มะละกอสุก |
วิตามินบี 6 | ช่วยเซลล์เม็ดเลือดขาวสร้างแอนติบอดี | ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืชไม่ขัดสี ไก่หมู กล้วย |
วิตามินซี | ป้องกันเซลล์เม็ดเลือดนิวโทรฟิล (Neutrophill) ซึ่งทำหน้าที่ดักจับเชื้อแบคทีเรีย | ผลไม้ตระกูลส้ม ฝรั่ง มะขามป้อม สตรอว์เบอรี่ พริกหวาน บรอกโคลี มะเขือเทศ ดอกกะหล่ำ |
วิตามินอี | เพิ่มการสร้างแอนติบอดีช่วยสร้างเสริมการทำงานของทีเซลล์ (T cell) ซึ่งทำหน้าที่หลักในการป้องกันการติดเชื้อร่วมกับบีเซลล์ (B cell) | ถั่วเปลือกแข็ง วีตเจิร์ม (จมูกข้าวสาลี) วิตามินอีเสริม |
โปรตีน | ผู้ผลิตและรักษาปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาว | ผลิตภัณฑ์นมขาดไขมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง ถั่วเปลือกแข็ง เนื้อสัตว์ทุกชนิด |
ซีลีเนียม | เพิ่มประสิทธิภาพของเซลล์ที่ทำหน้าที่คุ้มกัน (Immune Cell) | เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารทะเล ถั่วบราซิล |
สังกะสี | ช่วยสร้างและเสริมการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดนิวโทรฟิลและคิลเลอร์เซลล์ ป้องกันเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ถูกทำลายโดยการลดไซโตไคน์ (Cytokine) ซึ่งควบคุมการอักเสบเสริมบีเซลล์ | วีตเจิร์ม (จมูกข้าวสาลี) ถั่วดำ เนื้อวัวไม่ติดมัน อาหารทะเล (โดยเฉพาะปู) |
ตารางสมุนไพรที่มีผลต่อภูมิต้านทาน
ประเภทสมุนไพร | ผลต่อภูมิคุ้มกัน | แหล่งอาหารที่มีมาก |
โสม (Ginseng) | เสริมสร้างเม็ดเลือดขาวและอินเตอร์เฟอรอน | โสม Panax 100-200 มิลลิกรัม ที่มีจินเซโนไซด์ปริมาณ 8 เปอร์เซ็นต์ |
เอคินาเซีย (echinacea) | เพิ่มเซลล์ระบบภูมิต้านทานคิลเลอร์เซลล์ กระตุ้นเซลล์ที่ดักจับเชื้อโรค (phagocyte) การวิจัยพบว่าช่วยทำให้หวัดหายเร็วขึ้น ถ้ากินเมื่อเริ่มมีอาการ | เอคินาเซียที่มีเอคินาโคไซด์ เช่น อินเตอร์เฟอรอน อินเตอร์ลิวคิน 25 เปอร์เซ็นต์ และพอลิแซ็กคาไรด์ 15 เปอร์เซ็นต์ 15-30 หยด วันละ 3 ครั้ง ไม่เกิน 8 สัปดาห์ |
ปักคี้ อึ้งคี้ (Milk Vetch Root) | สร้างภูมิต้านทานโรค | รากปักคี้ 4 กรัมตุ๋น |
กระเทียม | สารอัลลิซินช่วยทำลายหรือยับยั้ง เชื้อแบคทีเรีย เชื้อราและยีสต์ | กระเทียมสกัด |
เห็ดทางการแพทย์ | สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน | เห็ดชิตาเกะ เห็ดไมตาเกะ เห็ดหลินจือ เห็ดยามาบูชิตาเกะ ถังเช่า (คอร์ดิเซปส์) |
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
ศัลยา คงสมบูรณ์เวช. บำบัดเบาหวานด้วยอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : อัมรินทร์เฮลท์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2559. (12), 311 หน้า. (ชุดชีวิตและสุขภาพ ลำดับที่ 113) 1.เบาหวาน 2.โภชนบำบัด 3.การปรุงอาหารสำหรับผู้ป่วย 4.การดูแลสุขภาพตนเอง. 616.462 ศ7บ6 2559. ISBN 978-616-18-7741-9.