- กระบวนการรักษาโรคมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการศึกษา
- เชื้อพยาธิเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงหรือ ?
- อาหารเสริม ทางการแพทย์ที่เหมาะกับผู้ป่วยมะเร็ง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อหัวใจ
- การฉายรังสีรักษามะเร็งมีผลข้างเคียงต่อการมองเห็นอย่างไร
- การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- ผลกระทบจากการฉายรังสีรักษามะเร็งต่อระบบไหลเวียนโลหิต
- โครงสร้าง และ ส่วนประกอบของเต้านม
- การตรวจหามะเร็ง มีวิธีการตรวจอะไรบ้าง
- การพบแพทย์เพื่อประเมินผล และติดตามผลผู้ป่วยมะเร็ง
- มะเร็งดวงตา กับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีผลกระทบอะไรบ้าง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อกระดูก
- ผลข้างเคียงจากการฉายแสงรักษามะเร็งศีรษะ และ มะเร็งลำคอ
- ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งในเด็ก
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีที่มีต่อไขกระดูก
- ผลข้างเคียงของการใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับการฉายรังสี
- วิธีตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งและประเมินระยะของโรค
- ผลข้างเคียงจากการรักษาร่วมระหว่างการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด
- มะเร็งกระเพาะอาหาร เกิดจากกรดไหลย้อนเรื้อรังโดยไม่รู้ตัว
- มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( Lymphoma )
- ผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือ คีโม
- ฉายแสงรักษามะเร็ง มีผลข้างเคียงอย่างไร
- มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ( Urinary Bladder Cancer )
- มะเร็งที่พบบ่อยทั้งในผู้หญิงและผู้ชายในประเทศไทย
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
- มะเร็งองคชาต ( Penile Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็ง โรคที่คนไทยเป็นเยอะสุด
- มะเร็งหลอดอาหาร ( Esophageal Cancer ) มีสาเหตุและอาการของโรคอย่างไร
- มะเร็งตับอ่อน ( Pancreatic Cancer )
- มะเร็งไต ( Kidney Cancer ) อาการ สาเหตุ และการรักษา
- มะเร็งเม็ดเลือดขาว ( Leukemia )
- มะเร็งลำไส้ใหญ่ ( Colorectal Cancer )
- มะเร็งทวารหนัก ( Anal Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งอัณฑะ ( Testicular Cancer )
- มะเร็งรังไข่ อาการ สาเหตุ และการรักษา ( Ovarian Cancer )
- มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ( Endometrial Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งปากมดลูก ( Cervical Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์หรือการปลูกถ่ายไขกระดูก
- เนื้องอกในสมอง มะเร็งสมอง ( Brain Cancer )
- มะเร็งตับ ( Liver Cancer )
- มะเร็งต่อมลูกหมาก ( Prostate Cancer )
- มะเร็งซาร์โคมามดลูก ( Sarcoma ) สาเหตุ อาการเบื้องต้นและวิธีการรักษา
- มะเร็งกรวยไต และ มะเร็งท่อไต
- มะเร็งปอด ( Lung Cancer ) สาเหตุ อาการ และวิธีรักษา
- มะเร็งระยะสุดท้ายรักษาหายได้ไหม มีชีวิตอยู่ได้นานแค่ไหน
- มะเร็งในเด็ก ( Pediatric Cancer )
- มะเร็งถุงน้ำดี ( Gallbladder Cancer )
- มะเร็งท่อน้ำดี ( Cholangiocarcinoma หรือ CCA )
- มะเร็งย้อนกลับเป็นซ้ำและโรคมะเร็งชนิดที่ 2
- มะเร็งต่อมไทรอยด์ ( Thyroid Cancer )
- มะเร็งต่อมน้ำลาย ( Salivary Gland Cancer )
- มะเร็งช่องปาก โรคร้ายที่เกิดขึ้นภายในระบบศีรษะและลำคอ
- มะเร็งผิวหนัง ( Skin Cancer )
- มะเร็งโพรงไซนัส และ มะเร็งโพรงจมูก
- มะเร็งหลังโพรงจมูก สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา
- ถาม – ตอบ ปัญหาเกี่ยวกับมะเร็ง
- สารตรวจค่าเลือดเฟอร์ริติน ( Ferritin )
- การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
- การตรวจเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้ สัญญาณมะเร็ง
- สาเหตุของมะเร็ง ปัจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม และพันธุกรรม
- อาการมะเร็ง เบื้องต้น ฉบับล่าสุด 2020
- อาหารผู้ป่วยมะเร็ง
- อาหารต้านมะเร็ง เลือกกินอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็ง
- มะเร็งเกิดจากอะไร ? ( Causes of Cancer )
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ( Cancer Care )
- การตรวจ และรักษามะเร็ง
- ถาม – ตอบ ปัญหาโรคมะเร็ง
- ระยะของมะเร็ง ( Stage of Cancer )
- จะรู้ได้ไงว่าเป็นมะเร็ง?
- ชนิดของมะเร็งที่พบบ่อย
- มะเร็งเต้านม ( Breast Cancer ) มะเร็งอันดับ 1 ผู้หญิง
- อาหารเพิ่มเลือด สำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับคีโม
- อัลตร้าซาวด์ตรวจหามะเร็ง
- การอ่านค่าผลตรวจสุขภาพ
- การตรวจหาสารมะเร็ง – Tumor Marker
- มะเร็ง ( cancer ) โรคที่ทุกคนต้องรู้
- โรคมะเร็ง โรคร้ายที่ใครๆก็เป็นได้
- สัญญาณมะเร็ง การตรวจวินิจฉัยมะเร็ง
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็ง
สำหรับการ รักษาโรคมะเร็ง ในรูปแบบกระบวนการรักษาโดยใช้วิธีการอื่นๆ ซึ่งกำลังอยู่ใน กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็ง นั้น ยังคงไม่สามารถนำมาเป็นวิธีการรักษาในทางปฏิบัติได้ มีดังนี้
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็งด้วยความร้อน
เพื่อ รักษาโรคมะเร็ง สำหรับกระบวนการรักษาด้วยความร้อน ถือได้ว่าเป็นการนำความร้อนสูงเข้ามาช่วย เพื่อให้เซลล์มะเร็งได้ตอบสนองต่อรังสีรักษา หรือ เคมีบำบัดได้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีเครื่องมือที่ถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่มอุณหภูมิความร้อน โดยตรง การรักษาในรูปแบบนี้ถูกคิดค้นขึ้นมาเนื่องจาก ยังคงมีเซลล์มะเร็งบางชนิด ที่มีลักษณะดื้อต่อรังสีรักษา หรือ ยาเคมีบำบัดโดยตรง หากก้อนมะเร็งได้รับอุณหภูมิความร้อนที่สูงขึ้น อาจจะมีลักษณะตอบสนองต่อรังสีรักษาและเคมีบำบัดได้นั่นเอง
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็งด้วยชีวสารรักษาเพื่อรักษาโรคมะเร็ง
ชีวสารรักษา ถือได้ว่าเป็นตัวยาที่มีคุณสมบัติเหมือนกับสารต้านเซลล์ต่างๆ ที่มีความแปลกปลอมภายในร่างกายของคนเรา หรือจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นสารเพิ่มภูมิคุ้มกันและต้านทานโรคของมนุษย์ก็สามารถเรียกได้ การใช้ชีวสารรักษาก็เพื่อที่จะหยุดยั้งและต้านทานเซลล์มะเร็งบางชนิดเท่านั้น แถมยังคงมีความเชื่อที่ว่า จะเป็นยาที่มีผลข้างเคียงน้อยมาก เมื่อได้ใช้ร่วมกันกับการรักษาด้วยวิธีการหลักๆ ไม่ว่าจะเป็น การผ่าตัด รังสีรักษา หรือแม้กระทั่ง เคมีบำบัดก็ตาม ก็จะช่วยเพิ่มผลทางด้านการรักษาในรูปแบบและวิธีการต่างๆ เหล่านี้ได้ดียิ่งขึ้น
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็งในการต้านทานโรคด้วยยาเพิ่มภูมิคุ้มกัน
สำหรับยาเพิ่มภูมิคุ้มกัน หรือ ยาต้านทานโรค นับได้ว่าเป็นยาที่สามารถช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันภายในร่างกายได้ ส่งผลทำให้เซลล์มะเร็งที่มีอยู่ภายในร่างกาย มีลักษณะหยุดเจริญเติบโต หรือ อาจจะส่งผลทำให้เซลล์มะเร็งตายได้เช่นกัน
กระบวนการวิจ้ยการรักษาโรคมะเร็งด้วยการวัคซีนเพื่อป้องกัน
ถือได้ว่าเป็นการรักษาหลักการเดียวกันกับการให้ยาเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค เพราะเป็นการรักษาในรูปแบบเดียวกัน แต่จะผิดแปลกตรงที่ตัวยาเป็นวัคซีนอย่างแท้จริง ซึ่งในปัจจุบันกำลังมีการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาในรูปแบบนี้กันมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะทำให้ผลของการรักษาเป็นผลที่ดี และมีผลแทรกซ้อนต่ำลงไปกว่าเดิม
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็งด้วยการปลูกถ่ายอวัยวะเพื่อรักษา
สำหรับการปลูกถ่ายอวัยวะ รวมไปถึงการปลูกถ่ายไขกระดูก จะมีการกำจัดเนื้อเยื่อ หรือ อวัยวะที่เป็นโรคมะเร็ง ซึ่งจะต้องกำจัดออกให้หมดไปเท่านั้น และจะมีการแนะนำอวัยวะใหม่ ที่ไม่มีโรคมะเร็งไปทำการปลูกถ่ายแทนที่
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็ง ในรูปแบบการแพทย์สนับสนุน และ การแพทย์ทางเลือก
การแพทย์สนับสนุน ( Complementary Medicine )
วิธีนี้เป็นวิธีการ รักษาโรคมะเร็ง แบบไม่รุกราน วิธีนี้แทบที่จะไม่มีผลข้างเคียงหรือไม่มีอาการแทรกซ้อนเลยก็ว่าได้ นอกเหนือจากนี้คือ มีการยอมรับการรักษาการแพทย์แผนปัจจุบัน
การแพทย์ทางเลือก ( Alternative Medicine )
เป็นวิธีการ รักษาโรคมะเร็ง ที่ได้มีการปฏิเสธการรักษาจากแพทย์แผนปัจจุบัน บางวิธีการอาจจะยังคงเป็นการรักษาแบบรุกรานอยู่ และอาจจะมีผลข้างเคียงหรืออาการแทรกซ้อนมากกว่า
การแพทย์องค์รวม ( Holistic Medicine )
ถือได้ว่าเป็นวิธีการรักษาทั้งร่างกายและจิตใจ พร้อมทั้งจิตวิญญาณ ซึ่งวิธีการรักษาจะเป็นการรวมกันระหว่าง แพทย์สนับสนุน และ แพทย์ทางเลือก
การแพทย์ผสมผสาน ( Integrative Medicine )
ถือได้ว่าเป็นวิธีการรักษาที่รวมกันระหว่าง แพทย์แผนปัจจุบัน และ การฟื้นฟูร่างกายและจิตใจพร้อมทั้งจิตวิญญาณ นับได้ว่าเป็นการรักษาทั้งแพทย์แผนปัจจุบันแพทย์สนับสนุนและแพทย์ทางเลือกแต่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตามการตัดสินใจเพื่อใช้การแพทย์ไม่ว่าจะวิธีใดก็ตามนอกเหนือจากแพทย์แผนปัจจุบัน คุณควรที่จะต้องทำการปรึกษาแพทย์และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการ รักษาโรคมะเร็ง ก่อนเสมอ เพื่อที่จะไม่ส่งผลทำให้เกิดขัดการระหว่างการรักษากับแพทย์แผนปัจจุบันโดยตรง
เหตุผลที่แพทย์แผนปัจจุบัน ไม่ค่อยยอมรับการรักษาแพทย์สนับสนุน กับ แพทย์ทางเลือก
ส่วนใหญ่แล้ว เราจะพบเจอกับปัญหาที่ว่า แพทย์แผนปัจจุบันมักจะต่อต้านการรักษาแพทย์วิธีต่างๆ ซึ่งการบำบัดรักษา ที่ไม่ติดขัดกับแพทย์แผนปัจจุบัน เพราะฉะนั้น ทางด้านผู้ป่วยและญาติ ควรที่จะปรึกษาแพทย์แผนปัจจุบันที่เชี่ยวชาญทางด้านโรคมะเร็งเสียก่อน แล้วจึงตัดสินใจใช้วิธีการรักษาแบบแพทย์สนับสนุนและแพทย์ทางเลือกจริง แล้วในส่วนของการบำบัดรักษาเกือบจะทุกวิธี ย่อมมีผลข้างเคียงตามมาเสมอ
สำหรับผลข้างเคียงที่สำคัญและน่ากลัวมากที่สุด นั่นก็คือ การลุกลามและการกระจายตัวของโรคมะเร็ง แต่ถ้าหากใครอยากจะเลือกรักษาโดยวิธีทางแพทย์สนับสนุน หรือ แพทย์ทางเลือกควรพิจารณาก่อน ดังนี้
- ควรมีความมั่นใจ และไม่ควรตัดสินใจด้วยความกลัว หากจะรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน
- ควรตอบตนเองให้ได้เสียก่อนว่า อยากจะเข้ารับการรักษาด้วยวิธีไหน
- ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาด้วยวิธีการต่างๆ ให้ดีเสียก่อน
- กระบวนการรักษาและสถานที่ที่ให้การรักษา พร้อมทั้งเครื่องมือที่ใช้ มีลักษณะเป็นอย่างไร น่าเชื่อถือหรือไม่
- ควรรู้ตัวยาที่ใช้ในการรักษาร่วมด้วย
- ควรทราบว่าการรักษาที่เลือกจะต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไหร่จึงจะเห็นผล
- ควรทราบถึงผลข้างเคียงและอาการแทรกซ้อนที่อาจจะตามมา
- ควรศึกษาด้วยว่า การรักษาที่ผู้ป่วยเลือก มีหลักฐานทางการแพทย์ที่สามารถให้คำยืนยันได้หรือไม่
- ควรทราบค่าใช้จ่ายในการรักษา
- ควรปรึกษาแพทย์แผนปัจจุบันให้ดีเสียก่อน ก่อนที่จะตัดสินใจ
กระบวนการวิจัยการรักษาโรคมะเร็งแบบประคับประคอง พยุงอาการ และ การรักษาทางอายุกรรมแบบทั่วไป
ในส่วนของกระบวนการ รักษาโรคมะเร็ง แบบประคับประคองและพยุงอาการโดยมีการพิจารณาถึงอาการ พร้อมทั้ง สุขภาพของผู้ป่วยเป็นข้อบ่งชี้ในการรักษา ซึ่งการรักษาแบบนี้ จะเป็นการรักษาเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วย ซึ่งวิธีนี้จะใช้รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งในทุกๆ ระยะของโรค ซึ่งการรักษาแบบประคับประคองและพยุงตามอาการ บางครั้งอาจจะมีการผ่าตัดเล็กร่วมด้วย เพื่อที่จะสามารถบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยได้ใช้ชีวิตต่อได้ง่ายยิ่งขึ้น
ร่วมตอบคำถามกับเรา
[poll id=”20388″]
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงพวงทอง ไกรพิบูลย์. รู้ก่อนเข้าใจการตรวจรักษามะเร็ง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557.
Cassileth BR, Deng G (2004). “Complementary and alternative therapies for cancer”. The Oncologist. 9 (1): 80–9. PMID 14755017. doi:10.1634/theoncologist.9-1-80.
Jump up What Is CAM? Archived 8 December 2005 at WebCite National Center for Complementary and Alternative Medicine. retrieved 3 February 2008.