- คอลลาเจนคืออะไร กินคอลลาเจนตอนไหนดี บทความนี้มีคำตอบ
- น้ำตาลมะพร้าว ที่สายเฮลตี้ ( HEALTHY ) ไม่ควรพลาด
- สรรพคุณและประโยชน์ของพุทราจีน
- กระเจี๊ยบเขียว ผักพื้นบ้านแหล่งแคลเซียมจากธรรมชาติ
- ไวรัส RSV อาการ การป้องกัน และการรักษา
- มะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลไม้รสเปรี้ยวฆ่ามะเร็งและเนื้องอก
- นมอัดเม็ด ไม่มีน้ำตาลช่วยป้องกันฟันผุ
- ร้อนในเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง
- วิธีการประเมินความเสี่ยงความเครียด ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตนเอง
- โรคเครียด สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
- ฟันผุ สามารถรักษาและป้องกันได้
- วิธีแก้ท้องผูกง่าย ๆ บทความนี้ช่วยคุณได้
- ไฟเบอร์พรีไบโอติกมีประโยชน์ต่อระบบขับถ่ายอย่างไร
- แลคโตบาซิลลัส จุลินทรีย์นี้มีประโยชน์อย่างไร
- ชีสกินกับอะไรก็อร่อย คัดเฉพาะเมนูชีสเด็ดๆ มาพร้อมเสริฟ
- มหัศจรรย์นมผึ้ง รักษาอาการวัยทองเห็นผลดีเยี่ยม
- โยเกิร์ตดีต่อคนรักสุขภาพ
- นมเปรี้ยว เครื่องดื่มที่ได้ทั้งสุขภาพและความงามที่สาว ๆ ไม่ควรพลาด
- นม ( Milk ) ป้องกันมะเร็ง หลอดเลือดหัวใจได้จริงหรือไม่?
- กิมจิ ( Kimchi )
- ผักชีล้อม ประโยชน์ และเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
- ไฝเกิดจากอะไร เกิดตำแหน่งไหนได้บ้าง เอาไฝออกอย่างไร
- วิธีลดกลิ่นตัว ทำยังไงให้กลิ่นตัวอันไม่พึงประสงค์หายไป
- เท้าเหม็น ดับกลิ่นเท้าอันไม่พึงประสงค์ได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
- ห้อเลือด เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ภูมิแพ้ผิวหนัง เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- เล็บอักเสบ เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ผึ้งต่อย บรรเทารักษาอาการจากการโดนผึ้งต่อยอย่างไร
- เล็บเป็นคลื่น เกิดจากอะไร บ่งบอกอะไรได้บ้าง
- เชื้อราที่เล็บ เกิดจากอะไร ดูแลรักษาและป้องกันอย่างไร
- เมล็ดเจีย ( Chia Seed ) Super Food ระดับโลก
- หินเกลือดำ ( Volcanic Rock Salt ) คืออะไร
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์บี ( Influenza B ) คืออะไร
- ปฏิบัติตามอย่างถูกวิธี ช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันไวรัสโควิด-19
- วัยทองในผู้ชาย ( Male Menopause ) มีอาการอย่างไร
- แอลคาร์นิทีน ( L- Carnitine ) มีประโยชน์อย่างไร
- หนอนไหม ( Silkworm ) อุดมไปด้วยโปรตีน
- งาขี้ม่อน หรือ งาขี้ม้อน มีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างไร
- โควิด 2019 ( COVID19 )
- คอลลาเจนไทพ์ทู ( Collagen Type II ) มีประโยชน์อย่างไร
- L-Arginine ( แอล-อาร์จินิน ) มีประโยชน์อย่างไร
- ช็อกโกแลต หรือดาร์กช็อกโกแลต
- โกโก้ ( Cocoa ) เมล็ดจากต้นคาเคา ( Cacao )
- เพศสัมพันธ์ ( Sex ) สายใยแห่งรัก
- โรคฉี่หนู ( Leptospirosis ) ภัยเงียบที่มากับหน้าฝนและน้ำท่วม
- สบู่สมุนไพร เพื่อสุขภาพ
- ชงโค สมุนไพรไม้ประดับ สรรพคุณเป็นยาดับพิษไข้ แก้ไอ
- โรคภูมิแพ้ ( Allergy ) เกิดจากอะไร
- ลิ้นหัวใจรั่ว ( Heart Valve Regurgitation ) เป็นอย่างไร ?
- โรคถุงลมโป่งพอง ( Emphysema )
- ภาวะวุ้นตาเสื่อม ( Vitreous Degeneration ) เป็นอย่างไร
- โรคหัด ( Measles ) เกิดได้กับใครบ้าง ?
- สาเหตุการเกิด โรคพยาธิใบไม้ตับ ( Opisthorchiasis )
- ดาวน์ซินโดรม ( Down Syndrome ) เกิดจากอะไร
- ตกขาว ( Leukorrhea หรือ Vaginal Discharge )
- กรดไหลย้อน ( Gastroesophageal Reflux Disease : GERD )
- กัญชากับยาแพทย์แผนไทย
- โรคตากุ้งยิง ( Stye หรือ Hordeolum )
- ออทิสติก ( Autistic Disorder ) คืออะไร
- โรคต้อหิน ( Glaucoma ) เป็นอย่างไร
- โรคพิษสุนัขบ้า ( Rabies ) เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
- ผ้าอนามัยกัญชาลดอาการปวดประจำเดือน ?
- โรคไข้สมองอักเสบ ( West Nile )
- ต่อมทอนซิลอักเสบ ( Tonsillitis )
- โรคพิษสุราเรื้อรัง ( Alcoholism )
- โรคคอตีบ ( Diphtheria )
- โรคเริม ( Herpes Simplex )
- ข้อมูลน่ารู้เรื่องกัญชา
- อาหารที่มีส่วนผสมกัญชารสชาติอร่อยจริงหรือ ?
- โรคบาดทะยัก ( Tetanus )
- โรคไบโพลาร์ ( Bipolar Disorder )
- โรคงูสวัด ( Herpes Zoster )
- โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE ( Systemic Lupus Erythematosus, SLE )
- โรคดักแด้ ( Epidermolysis Bullosa )
- โรคคางทูม ( Mumps ) คืออะไร
- ไข้หูดับ หรือโรคติดเชื้อ สเตรฟโตคอกคัส ซูอิส ( Streptococcus Suis )
- โรคสังคัง ( Tinea Cruris )
- โรคตาแดง ( Conjunctivitis )
- โรคปอดบวม ( Pneumonia )
- โรคอีสุกอีใส ( Chickenpox / Varicella )
- โรคสายตาสั้น ( Myopia )
- โรคต้อลม ( Pinguecula )
- โรคต้อกระจก ( Cataract )
- ตาบอดสี เกิดจากสาเหตุอะไร รวมวิธีทดสอบตาบอดสี
- ตาบอดข้างใดข้างหนึ่ง ( Blindness / Vision Impairment )
- โรคกลาก ( Ringworm )
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A ( Influenza A หรือ H1N1 )
- วัณโรค ( Tuberculosis ) เกิดได้อย่างไรกัน
- โรคจอประสาทตาเสื่อม ( Age-related Macular Degeneration – AMD )
- น้ำมันพริกไทยดำสกัดเย็น ( Cold Pressed Pepper Oil )
- ไข้เลือดออก ( Dengue hemorrhagic fever )
- โรคแพ้เหงื่อตัวเอง ( Allergic dermatitis )
- กระจกตาอักเสบเรื้อรัง ( Keratitis )
- โรคลมแดดหรือโรคฮีทสโตรก ( Heat Stroke )
- น้ำมันเมล็ดกระบกสกัดเย็น ( Cold pressed wild almond oil )
- น้ำมันเมล็ดเจียสกัดเย็น ( Cold pressed chia seed oil )
- น้ำมันลูกเดือยสกัดเย็น ( Cold pressed millet oil )
- น้ำมันเมล็ดองุ่นสกัดเย็น ( Cold pressed grape seed oil )
- น้ำมันกระเทียมสกัดเย็น ( Cold pressed garlic oil )
- ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ( SANGYOD RICE )
- น้ำมันมะรุมสกัดเย็น ( Cold pressed Moringa oil)
- ข้าวขาว น้ำตาลต่ำ ข้าวกข 43 ( RD43 )
- น้ำมันงาดำสกัดเย็น ( Cold pressed black sesame )
- น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ( Cold pressed sacha inchi oil )
- น้ำมันพริกสกัดเย็น ( Clod Pressed Capsicum )
- น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว ( Cold Pressed Rice Bran Oil )
- กัญชา ( Marijuana ) สมุนไพรทางเลือก
- ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร และส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร
- รักษาฝ้าด้วยหัวไชเท้า ( Radish Essentials )
- งา ( sesame ) เมล็ดพืชที่ไม่ควรมองข้าม
- กาแฟอาราบิก้า ( Arabica )
- การเลือกรับประทานอาหารตามเวลาที่เหมาะสม
- การคำนวณแคลอรี่จากผลไม้รถเข็น
- ความเครียดมีผลกระทบต่อร่างกาย
- วิธีการใช้ยาคุมกำเนิดแบบต่างๆ
- เต้านมสองข้างไม่เท่ากันแก้ไขได้ไหม
- มังคุด ประโยชน์และสรรพคุณที่คาดไม่ถึง
- ว่านเพชรหึงสรรพคุณทางยาที่ไม่ธรรมดา
- ถาม-ตอบ ปัญหากล้ามเนื้อตึงรั้งอาการเจ็บปวดเมื่อยล้าจากภาวะโรคออฟฟิศซินโดรม
- ประโยชน์ของกระดูกสันหลังและ 7 พฤติกรรมที่ทำร้ายกระดูกสันหลัง
- อาหารและโภชนาการที่เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
- วิธีเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันธรรมชาติ
- เล่นน้ำสงกรานต์อย่างไรให้สนุกและปลอดภัย 2019
- ภูมิคุ้มกันในร่างกายคืออะไร
- สเต็มเซลล์ ( Stem Cell ) คืออะไร
- วิธีดูแลตัวเองให้ห่างไกลโรคข้อและกระดูก
- ทำอย่างไรไม่ให้หิวบ่อย
- ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว
- ลำไส้และจิตใจกำหนดพลังภูมิคุ้มกันที่ใหญ่สุดในร่างกาย
- น้ำมันมะกอกมีคุณประโยชน์อย่างไร ( Olive Oil )
- ประโยชน์ของน้ำมันตับปลา ( Cod Liver Oil )
- ผลิตภัณฑ์นมคืออะไร? ( Milk Product )
- ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ( Oxidation ) คืออะไร
- อาหารต้านความเสื่อมของร่างกาย
- อาหารที่เหมาะสมเมื่อเป็นโรคปลายประสาทเสื่อม
- มารู้จักสารให้ความหวานกันเถอะ
- เส้นใยอาหาร ประโยชน์จากธรรมชาติช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด
- สาเหตุและอาการของโรคหัวใจ
- ประโยชน์ของน้ำมันคาโนลา ( Canola Oil )
- สาเหตุและอาการของโรคซึมเศร้า
- พลังงานที่พอดีมาจากปริมาณอาหารเท่าใด ?
- วิธีการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
- แสงแดดรักษาดวงตาให้คงทน
- แสงแดดช่วยรักษากระดูก
- เตรียมพร้อมช็อปปิ้งอาหารลดโรคคุมเบาหวาน
- เตรียมพร้อมโภชนาการก่อนตั้งครรภ์ สำหรับหญิงที่ต้องการมีบุตร
- อาหารการกินช่วยถนอมเต้า
- เป็นเบาหวาน จะกินอย่างไรในเดือนเราะมะฎอน หรือรอมฎอน
- อาหารเพิ่มสมรรถภาพทางเพศมีจริงหรือ ?
- อาหารช่วยลดอาการปวดท้องช่วงมีรอบเดือน
- อาหารเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง
- อาหารช่วยปรับเปลี่ยนอารมณ์ ปรับสมดุลสมอง
- โรคเกาต์ ( Gout ) เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ?
- อาหารชะลอสายตาเสื่อม
- อาหารกับต่อมไทรอยด์
- พลังงานที่ร่างกายต้องการ
- โภชนาการสำหรับสุขภาพผมที่ดี
- โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้ชาย
- แสงแดดมีประโยชน์มากกว่าที่คุณคิด
- แหล่งกำเนิดของน้ำมันไข
- แสงแดดเสริมสร้างกระดูก
- มารู้จักฉลากโภชนาการกันเถอะ
- โภชนาการเพื่อสุขภาพผิวสวย
- อาหารที่ทำให้แก่ช้ามีอะไรบ้าง
- เลือกรับประทานอย่างไรให้นอนหลับง่ายขึ้น
- กินอาหารมังสวิรัติช่วยให้ห่างไกลโรค
- อาหารบำบัดอาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง
- การเลือกรับประทานอาหารต้านความเครียด
- พลังงาน 5 ชนิดในร่างกายที่ควรรู้
- 7 ขั้นตอนสร้างสมดุลให้ชีวิต
- การสูญเสียคุณค่าของสารอาหาร ( Nutrient Losses )
- เมื่ออาหารเข้าปาก เกิดกระบวนการอะไรขึ้นในร่างกาย
- 6 พืชผักสมุนไพรกับการช่วยดูแลสุขภาพ
- ดูแลชีวิต พิชิตโรค
- กล้ามเนื้อหัวใจตาย เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต
- ประโยชน์ทั่วไปของไขมันบริโภค
- อาหารที่ช่วยเสริมภูมิต้านทาน
- แสงแดดช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจได้อย่างไร?
- ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปใช้สารปรุงแต่งอะไรบ้าง?
- เลือกอาหารให้เหมาะกับผู้สูงวัยอย่างไร?
- มาตรฐานน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำประปาที่ดีควรเป็นเช่นไร
- ประเภทและประโยชน์ของน้ำมันไขจากพืช
- น้ำมันพืช กับ น้ำมันหมู อะไรดีกว่ากัน ?
- เราควรดื่มน้ำวันละ 8 แก้วจริงหรือ?
- อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเลือดจาง
- สารให้รสหวานแทนน้ำตาล
- การจำแนกประเภทของน้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหาร
- อาหารสำหรับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาต
- กินน้ำตาลอย่างไร ไม่ให้เสียสุขภาพ
- โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา ( Stroke )
- ชนิดของกรดไขมัน ( Fatty Acid ) และไขมันทรานส์ ( Trans Fat )
- การรับประทานผักประจำวันที่เหมาะกับคนไทย
- โรคเมตาโบลิกซินโดรม ( Metabolic Syndrome )
คอลลาเจน
คอลลาเจน ( Collagen ) คือ เส้นใยโปรตีนชนิดหนึ่ง เป็นองค์ประกอบหลักของผิวหนัง ขน เส้นผม และกระดูกอ่อน ซึ่งร่างกายมนุษย์ทุกคนสามารถสร้างขึ้นเองได้ตามธรรมชาติ ทําหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและเพิ่มความยืดหยุ่นให้แก่อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย โดยร่างกายจะสามารถผลิตคอลลาเจนได้มากในขณะที่เรามีอายุน้อย และจะลดปริมาณการผลิตคอลลาเจนลงเมื่ออายุมากขึ้น โดยเฉพาะคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ขึ้นไปพบว่าการสังเคราะห์คอลลาเจนจะลดลงหรือในผู้ที่มีปัจจัยบางอย่างทำให้คอลลาเจนเสื่อมสภาพหรือถูกทำลายได้ง่าย
ทำไมคอลลาเจนจึงมีความสำคัญต่อผิวของคุณ
คอลลาเจน ( Collagen ) คือ เส้นใยโปรตีนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่พบในร่างกายมนุษย์
คอลลาเจนเป็นองค์ประกอบหลักของผิวหนัง กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เล็บ ขน โดยเส้นใยคอลลาเจนช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง เพิ่มความยืดหยุ่นผิวหนัง และเติมความชุ่มชื้นให้ผิว คอลลาเจนพบได้ในกระดูกอ่อน กระดูก หลอดเลือดกระจกตา กระดูกสันหลัง กล้ามเนื้อ และระบบทางเดินอาหาร เมื่ออายุประมาณ 30 ปีหลังจากนี้ร่างกายของเราจะสร้างฮอร์โมนและผลิตคอลลาเจนได้น้อยลงทำให้ผิวแห้ง ผิวบาง กระตุ้นให้เกิดความหย่อนคล้อย และริ้วรอยมากขึ้น
คอลลาเจน ต่างจากคอลลาเจนเปปไทด์ อย่างไร
คอลลาเจนเปปไทด์ ( Collagen peptides ) คือ โปรตีนที่พบมากในร่างกายมนุษย์เป็นกรดอะมิโนสายสั้นที่เป็นส่วนประกอบของคอลลาเจนประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็น 8 ใน 9 ชนิด โดยนำคอลลาเจนที่มีโมเลกุลขนาดใหม่มาผ่านกระบวนการไฮโดรไลซ์ ( Hydrolysis ) หรือปฏิกิริยาที่มีน้ำเข้าไปสลายพันธะทำให้สารโมเลกุลใหญ่ แตกตัวเป็นสารที่มีโมเลกุลเล็กลงทำให้ร่างกายดูดซึมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากร่างกายต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อ ผิวหนัง กระดูก กระดูกอ่อน ข้อต่อ และหลอดเลือด คอลลาเจนเปปไทด์มีโปรตีนมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 ชนิด ได้แก่ ไกลซีน ( glycine ) ไฮดรอกซีโพรลีน ( hydroxyproline ) และโพรลีน ( proline )
ประเภทคอลลาเจนที่พบบ่อยที่สุด
คอลลาเจนมีทั้งหมด 28 ชนิด แต่ละชนิดแตกต่างกันไปตามชนิดและรูปแบบของกรดอะมิโนที่ประกอบขึ้น คอลลาเจนที่พบบ่อยที่สุดในอาหารเสริมจะเป็นประเภท Collagen Type1 Collagen Type2 Collagen Type3 จากการศึกษาพบว่า Collagen Type 1 มีคุณสมบัติในการต่อต้านริ้วรอยมากที่สุดในบรรดาคอลลาเจนประเภทต่าง ๆ โปรตีนเส้นใยนี้ช่วยลดริ้วรอยได้ดีที่สุดและช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนัง
1. คอลลาเจนชนิดที่ 1 ( Collagen Type 1 ) เป็นคอลลาเจนที่พบมากที่สุดถึง 90 เปอร์เซ็นต์ในร่างกาย เส้นใยคอลลาเจนเป็นองค์ประกอบโครงสร้างที่สำคัญของเนื้อเยื่อหลาย ๆ ในร่างกายสามารถพบได้ในผิวหนัง กระดูก เนื้อเยื่อ และผนังหลอดเลือด
2. คอลลาเจนชนิดที่ 2 ( Collagen Type 2 ) เป็นคอลลาเจนที่สำคัญกับกระดูก กระดูกอ่อน ข้อต่อ ซึ่งโปรตีนชนิดนี้พบในกระดูกอ่อนประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ที่มีความยืดหยุ่นมากกว่าคอลลาเจนชนิดที่ 1 ช่วยสร้างกระดูกอ่อนขึ้นมาใหม่ ช่วยลดการอักเสบ บรรเทาอาการปวดข้อและกล้ามเนื้อในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม โรคไขข้ออักเสบ
3. คอลลาเจนชนิดที่ 3 ( Collagen Type 3 ) เป็นคอลลาเจนที่สำคัญต่อโครงสร้างของกล้ามเนื้อ อวัยวะ และหลอดเลือด เนื่องจากคอลลาเจน Type 3 พบมากที่สุดในกล้ามเนื้อมักใช้คอลลาเจนชนิดที่ 3 ช่วยในการสร้างมวลกล้ามเนื้อ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดการบาดเจ็บขณะออกกำลังกาย ช่วยในการสังเคราะห์เกล็ดเลือดจึงมีความสำคัญต่อกระบวนการแข็งตัวของเลือด
ประโยชน์ของคอลลาเจน
คอลลาเจนสามรถทำให้โปรตีนขนาดใหญ่แตกตัวเป็นเปปไทด์ซึ่งร่างกายดูดซึมได้ง่าย ช่วยบำรุ่งร่างกายเหมาะกับคนวัยทำงานและผู้สูงอายุ และนอกจากนี้ยังมีประโยชน์อื่น ๆ ดังนี้
1. ช่วยดูแลข้อต่อกระดูก รักษาโรคข้อเสื่อม
2. ช่วยลดเลือนริ้วรอย
3. ป้องกันฝ้า จุดด่างดำ
4. ทำให้ผิวชุ่มชื้น ป้องกันการสูญเสียน้ำที่ชั้นผิว
5. เพิ่มความยืดหยุ่น กระชับ เรียบเนียน ผิวขาวใส
6. ช่วยให้ผมและเล็บแข็งแรง
7. ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
8. ลดกระบวนการสลายแคลเซียม
9. ช่วยรักษาสิว ลดการอักเสบ
10. คอลลาเจนช่วยปกป้องผิวและกรองสารพิษจากสิ่งแวดล้อมและเชื้อโรคอื่น ๆ ได้
กินคอลลาเจนอย่างไรให้ได้ประโยชน์
1. กินคอลลาเจนตอนท้องว่าง แล้วดื่มน้ำตามมาก ๆ จะทำให้ได้รับประโยชน์จากคอลลาเจนมากที่สุด
2. ทานคอลลาเจนที่มีส่วนผสมของวิตามินซี หรือทานร่วมกับวิตามินซี จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของคอลลาเจนผิวขาว และทำให้ร่างกายดูดซึมได้ดีขึ้น
3. เลือกทานคอลลาเจนที่มีขนาดเล็ก เช่น คอลลาเจนเปปไทด์ ( Collagen Peptide ) เพราะสามารถดูดซึมเข้าร่างกายได้เร็วและมีประสิทธิภาพ
ร่างกายต้องการคอลลาเจนวันละเท่าไหร่
ความต้องการคอลาเจนของแต่ละคนแต่ละช่วงอายุมีต้องการที่เหมาะสมแตกต่างกัน ซึ่งมีคำแนะนำดังนี้
- การทานคอลลาเจนเพื่อลดริ้วรอยให้รับประทานคอลลาเจนรับประทานวันละ 10,000 มก. ต่อวัน
- หากต้องการทานคอลลาเจนเพื่อบำรุงสุขภาพเฉย ๆ ไม่หวังเห็นผลรวดเร็วให้รับประทานวันละ 5,000 มก. ต่อวัน
- ผู้สูงอายุที่ต้องการทานเพื่อบำรุงรักษากระดูก ควรรับประทานระหว่าง 2,500 มก. – 5,000 มก. ต่อวัน
แหล่งอาหารที่ช่วยเพิ่มคอลลาเจน
โดยทั่วไปเราสามารถพบคอลลาเจนได้ในอาหารจำพวกปลาทะเล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ถั่วหลากสี ผักใบเขียว เห็ดต่าง ๆ ผักผลไม่สีแดงส้ม เช่น
1. ถั่วเหลือง ตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองทุกชนิด รวมถึงชีสทุกประเภทนั้นก็จะมีเจนิสติน ( genistein ) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ชื่อ ไอโซฟลาโวน โดยมีส่วนเร่งกระบวนการผลิตคอลลาเจน จึงช่วยในการยกกระชับผิวพรรณให้เกิดความเต่งตึงและยังช่วยบล็อกเอนไซม์ชนิดไม่ดีที่จะเข้ามาทำร้ายผิวให้หย่อนคล้อยจนมีรอยตีนกาได้
2. วิตามินซี มีผักผลไม้หลายชนิดที่ให้วิตามินซี ไม่ว่าจะเป็นมะขามป้อม ฝรั่ง มะนาว ส้มหรือผลไม้ตระกูลเบอร์รี ผักต่างๆ ก็ได้แก่ พริกหยวก ผักหวาน ดอกแค และมะเขือเทศ เป็นต้น อาหารเหล่านี้จะช่วยกระตุ้นการผลิตคอลลาเจนและยังช่วยเสริมสร้างเซลล์ผิวให้แข็งแรงได้ด้วย
3. กรดไขมันโอเมก้า-3 อีกหนึ่งแหล่งที่จะช่วยเสริมสร้างคอลลาเจนจากธรรมชาตได้เป็นอย่างดี เพราะกรดไขมันโอเมก้า-3 นี้จะเข้าไปช่วยเติมเต็มร่องลึกของเซลล์ผิวที่ได้รับความเสียหายจากอนุมูลอิสระหรือปัจจัยอื่นๆ สามารถทานอาหารที่ให้กรดไขมันชนิดนี้ได้จากปลาแซลมอน ทูน่า อะโวคาโด และอัลมอนด์ เป็นต้น
4. ดาร์กช็อกโกแลต เนื่องจากมีผลงานวิจัยจากทางเยอรมนีให้การยืนยันแล้วว่า การกินดาร์กช็อกโกแลตนั้นไม่มีผลกระทบใดต่อผิว แต่ยังสามารถช่วยบำรุงสุขภาพผิวได้เป็นอย่างดี เพราะดาร์กช็อกโกแลตอุดมด้วยสารต้านอนุมูลอิสระสูง นับว่าเพียงพอทีเดียวต่อการเสริมสร้างคอลลาเจน จึงทำให้ผิวพรรณกระชับยืดหยุ่น นุ่มชุ่มชื้นและช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัยได้ด้วย
5. ผักใบเขียว ผักใบเขียวแทบทุกชนิด เรียกว่ายิ่งเขียวเข้มมากเท่าไรยิ่งดีมากเท่านั้น โดยเฉพาะคะน้า ผักโขม ผักกาดหอม ปวยเล้งและหน่อไม้ฝรั่ง เป็นต้น เนื่องจากผักสีเขียวขึ้นชื่อว่าช่วยกระตุ้นการผลิตคอลลาเจนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้วยเพราะสารต้านอนุมูลอิสระที่เรียกว่า ลูทีน ( lutein )
6. โปรตีนที่เป็นเนื้อสีขาว เช่น เนื้อไก่ เนื้อปลา ซึ่งนำมาประกอบอาหารจำพวก ต้มยำไก่ ซุปเปอร์ขาไก่ ทำให้วิตตามินซีดูดซึมคอลลาเจนได้ดี หรืออาหารประเภท ชุปกระดูก ปลาต่างๆ
ปัจจัยที่ทำให้คอลลาเจนเสื่อมสภาพ
1. ผู้ที่สูบบุหรี่
2. อายุมากขึ้น
3. ผู้ที่มีความเครียด
4. ผู้ที่พักผ่อนไม่เพียงพอ
5. รับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่
6. ได้รับรังสี UV จากแสงแดดมากเกินไป
7. กินน้ำตาลมากเกินไป
8. พันธุกรรม ซึ่งเป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการกำหนดปริมาณคอลลาเจนในร่างกายของแต่ละคน
ผลิตภัณฑ์ที่นำคอลลาเจนมาใช้
1. ผลิตภัณฑ์เวชสำอาง ( ครีมคอลลาเจน, สบู่คอลลาเจน, เซรั่มคอลลาเจน )
2. คลินิกเสริมความงาม ( การฉีดคอลลาเจนเข้าผิวหน้า )
3. ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมคอลลาเจน ( คอลลาเจนแบบเม็ด, คอลลาเจนแบบชง, เครื่องดื่มคอลลาเจนพร้อมทาน )
4. ด้านการแพทย์ ( ลักษณะของผิวหนังเทียมรักษาแผลไฟไหม้, ใช้รักษาโรคข้อเสื่อม )
5. ขนม เยลลี่ ลูกอม น้ำผลไม้ คอลลาเจนผง
ตอนนี้เราก็ทราบกันแล้วนะคะว่า คอลลาเจนคืออะไร เราควรกินคอลลาเจนตอนไหนถึงได้รับประโยชน์ที่สุด หาคอลลาเจนได้จากที่ไหน อย่างรอช้าค่ะไม่ว่าจะเป็นอาหารเสริมเพียวคอลลาเจน หรือคอลลาเจนธรรมชาติ ก็มีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งนั้นค่ะ มาเริ่มสะสมคอลลาเจนกันตั้งแต่วันนี้เถอะค่ะ
บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม