- ช็อกโกแลต หรือดาร์กช็อกโกแลต
- น้ำตาลมะพร้าว ที่สายเฮลตี้ ( HEALTHY ) ไม่ควรพลาด
- สรรพคุณและประโยชน์ของพุทราจีน
- กระเจี๊ยบเขียว ผักพื้นบ้านแหล่งแคลเซียมจากธรรมชาติ
- ไวรัส RSV อาการ การป้องกัน และการรักษา
- มะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลไม้รสเปรี้ยวฆ่ามะเร็งและเนื้องอก
- นมอัดเม็ด ไม่มีน้ำตาลช่วยป้องกันฟันผุ
- ร้อนในเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง
- วิธีการประเมินความเสี่ยงความเครียด ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตนเอง
- โรคเครียด สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
- ฟันผุ สามารถรักษาและป้องกันได้
- วิธีแก้ท้องผูกง่าย ๆ บทความนี้ช่วยคุณได้
- ไฟเบอร์พรีไบโอติกมีประโยชน์ต่อระบบขับถ่ายอย่างไร
- แลคโตบาซิลลัส จุลินทรีย์นี้มีประโยชน์อย่างไร
- ชีสกินกับอะไรก็อร่อย คัดเฉพาะเมนูชีสเด็ดๆ มาพร้อมเสริฟ
- มหัศจรรย์นมผึ้ง รักษาอาการวัยทองเห็นผลดีเยี่ยม
- โยเกิร์ตดีต่อคนรักสุขภาพ
- คอลลาเจนคืออะไร กินคอลลาเจนตอนไหนดี บทความนี้มีคำตอบ
- นมเปรี้ยว เครื่องดื่มที่ได้ทั้งสุขภาพและความงามที่สาว ๆ ไม่ควรพลาด
- นม ( Milk ) ป้องกันมะเร็ง หลอดเลือดหัวใจได้จริงหรือไม่?
- กิมจิ ( Kimchi )
- ผักชีล้อม ประโยชน์ และเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
- ไฝเกิดจากอะไร เกิดตำแหน่งไหนได้บ้าง เอาไฝออกอย่างไร
- วิธีลดกลิ่นตัว ทำยังไงให้กลิ่นตัวอันไม่พึงประสงค์หายไป
- เท้าเหม็น ดับกลิ่นเท้าอันไม่พึงประสงค์ได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
- ห้อเลือด เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ภูมิแพ้ผิวหนัง เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- เล็บอักเสบ เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ผึ้งต่อย บรรเทารักษาอาการจากการโดนผึ้งต่อยอย่างไร
- เล็บเป็นคลื่น เกิดจากอะไร บ่งบอกอะไรได้บ้าง
- เชื้อราที่เล็บ เกิดจากอะไร ดูแลรักษาและป้องกันอย่างไร
- เมล็ดเจีย ( Chia Seed ) Super Food ระดับโลก
- หินเกลือดำ ( Volcanic Rock Salt ) คืออะไร
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์บี ( Influenza B ) คืออะไร
- ปฏิบัติตามอย่างถูกวิธี ช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันไวรัสโควิด-19
- วัยทองในผู้ชาย ( Male Menopause ) มีอาการอย่างไร
- แอลคาร์นิทีน ( L- Carnitine ) มีประโยชน์อย่างไร
- หนอนไหม ( Silkworm ) อุดมไปด้วยโปรตีน
- งาขี้ม่อน หรือ งาขี้ม้อน มีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างไร
- โควิด 2019 ( COVID19 )
- คอลลาเจนไทพ์ทู ( Collagen Type II ) มีประโยชน์อย่างไร
- L-Arginine ( แอล-อาร์จินิน ) มีประโยชน์อย่างไร
- โกโก้ ( Cocoa ) เมล็ดจากต้นคาเคา ( Cacao )
- เพศสัมพันธ์ ( Sex ) สายใยแห่งรัก
- โรคฉี่หนู ( Leptospirosis ) ภัยเงียบที่มากับหน้าฝนและน้ำท่วม
- สบู่สมุนไพร เพื่อสุขภาพ
- ชงโค สมุนไพรไม้ประดับ สรรพคุณเป็นยาดับพิษไข้ แก้ไอ
- โรคภูมิแพ้ ( Allergy ) เกิดจากอะไร
- ลิ้นหัวใจรั่ว ( Heart Valve Regurgitation ) เป็นอย่างไร ?
- โรคถุงลมโป่งพอง ( Emphysema )
- ภาวะวุ้นตาเสื่อม ( Vitreous Degeneration ) เป็นอย่างไร
- โรคหัด ( Measles ) เกิดได้กับใครบ้าง ?
- สาเหตุการเกิด โรคพยาธิใบไม้ตับ ( Opisthorchiasis )
- ดาวน์ซินโดรม ( Down Syndrome ) เกิดจากอะไร
- ตกขาว ( Leukorrhea หรือ Vaginal Discharge )
- กรดไหลย้อน ( Gastroesophageal Reflux Disease : GERD )
- กัญชากับยาแพทย์แผนไทย
- โรคตากุ้งยิง ( Stye หรือ Hordeolum )
- ออทิสติก ( Autistic Disorder ) คืออะไร
- โรคต้อหิน ( Glaucoma ) เป็นอย่างไร
- โรคพิษสุนัขบ้า ( Rabies ) เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
- ผ้าอนามัยกัญชาลดอาการปวดประจำเดือน ?
- โรคไข้สมองอักเสบ ( West Nile )
- ต่อมทอนซิลอักเสบ ( Tonsillitis )
- โรคพิษสุราเรื้อรัง ( Alcoholism )
- โรคคอตีบ ( Diphtheria )
- โรคเริม ( Herpes Simplex )
- ข้อมูลน่ารู้เรื่องกัญชา
- อาหารที่มีส่วนผสมกัญชารสชาติอร่อยจริงหรือ ?
- โรคบาดทะยัก ( Tetanus )
- โรคไบโพลาร์ ( Bipolar Disorder )
- โรคงูสวัด ( Herpes Zoster )
- โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE ( Systemic Lupus Erythematosus, SLE )
- โรคดักแด้ ( Epidermolysis Bullosa )
- โรคคางทูม ( Mumps ) คืออะไร
- ไข้หูดับ หรือโรคติดเชื้อ สเตรฟโตคอกคัส ซูอิส ( Streptococcus Suis )
- โรคสังคัง ( Tinea Cruris )
- โรคตาแดง ( Conjunctivitis )
- โรคปอดบวม ( Pneumonia )
- โรคอีสุกอีใส ( Chickenpox / Varicella )
- โรคสายตาสั้น ( Myopia )
- โรคต้อลม ( Pinguecula )
- โรคต้อกระจก ( Cataract )
- ตาบอดสี เกิดจากสาเหตุอะไร รวมวิธีทดสอบตาบอดสี
- ตาบอดข้างใดข้างหนึ่ง ( Blindness / Vision Impairment )
- โรคกลาก ( Ringworm )
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A ( Influenza A หรือ H1N1 )
- วัณโรค ( Tuberculosis ) เกิดได้อย่างไรกัน
- โรคจอประสาทตาเสื่อม ( Age-related Macular Degeneration – AMD )
- น้ำมันพริกไทยดำสกัดเย็น ( Cold Pressed Pepper Oil )
- ไข้เลือดออก ( Dengue hemorrhagic fever )
- โรคแพ้เหงื่อตัวเอง ( Allergic dermatitis )
- กระจกตาอักเสบเรื้อรัง ( Keratitis )
- โรคลมแดดหรือโรคฮีทสโตรก ( Heat Stroke )
- น้ำมันเมล็ดกระบกสกัดเย็น ( Cold pressed wild almond oil )
- น้ำมันเมล็ดเจียสกัดเย็น ( Cold pressed chia seed oil )
- น้ำมันลูกเดือยสกัดเย็น ( Cold pressed millet oil )
- น้ำมันเมล็ดองุ่นสกัดเย็น ( Cold pressed grape seed oil )
- น้ำมันกระเทียมสกัดเย็น ( Cold pressed garlic oil )
- ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ( SANGYOD RICE )
- น้ำมันมะรุมสกัดเย็น ( Cold pressed Moringa oil)
- ข้าวขาว น้ำตาลต่ำ ข้าวกข 43 ( RD43 )
- น้ำมันงาดำสกัดเย็น ( Cold pressed black sesame )
- น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ( Cold pressed sacha inchi oil )
- น้ำมันพริกสกัดเย็น ( Clod Pressed Capsicum )
- น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว ( Cold Pressed Rice Bran Oil )
- กัญชา ( Marijuana ) สมุนไพรทางเลือก
- ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร และส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร
- รักษาฝ้าด้วยหัวไชเท้า ( Radish Essentials )
- งา ( sesame ) เมล็ดพืชที่ไม่ควรมองข้าม
- กาแฟอาราบิก้า ( Arabica )
- การเลือกรับประทานอาหารตามเวลาที่เหมาะสม
- การคำนวณแคลอรี่จากผลไม้รถเข็น
- ความเครียดมีผลกระทบต่อร่างกาย
- วิธีการใช้ยาคุมกำเนิดแบบต่างๆ
- เต้านมสองข้างไม่เท่ากันแก้ไขได้ไหม
- มังคุด ประโยชน์และสรรพคุณที่คาดไม่ถึง
- ว่านเพชรหึงสรรพคุณทางยาที่ไม่ธรรมดา
- ถาม-ตอบ ปัญหากล้ามเนื้อตึงรั้งอาการเจ็บปวดเมื่อยล้าจากภาวะโรคออฟฟิศซินโดรม
- ประโยชน์ของกระดูกสันหลังและ 7 พฤติกรรมที่ทำร้ายกระดูกสันหลัง
- อาหารและโภชนาการที่เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
- วิธีเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันธรรมชาติ
- เล่นน้ำสงกรานต์อย่างไรให้สนุกและปลอดภัย 2019
- ภูมิคุ้มกันในร่างกายคืออะไร
- สเต็มเซลล์ ( Stem Cell ) คืออะไร
- วิธีดูแลตัวเองให้ห่างไกลโรคข้อและกระดูก
- ทำอย่างไรไม่ให้หิวบ่อย
- ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว
- ลำไส้และจิตใจกำหนดพลังภูมิคุ้มกันที่ใหญ่สุดในร่างกาย
- น้ำมันมะกอกมีคุณประโยชน์อย่างไร ( Olive Oil )
- ประโยชน์ของน้ำมันตับปลา ( Cod Liver Oil )
- ผลิตภัณฑ์นมคืออะไร? ( Milk Product )
- ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ( Oxidation ) คืออะไร
- อาหารต้านความเสื่อมของร่างกาย
- อาหารที่เหมาะสมเมื่อเป็นโรคปลายประสาทเสื่อม
- มารู้จักสารให้ความหวานกันเถอะ
- เส้นใยอาหาร ประโยชน์จากธรรมชาติช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด
- สาเหตุและอาการของโรคหัวใจ
- ประโยชน์ของน้ำมันคาโนลา ( Canola Oil )
- สาเหตุและอาการของโรคซึมเศร้า
- พลังงานที่พอดีมาจากปริมาณอาหารเท่าใด ?
- วิธีการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
- แสงแดดรักษาดวงตาให้คงทน
- แสงแดดช่วยรักษากระดูก
- เตรียมพร้อมช็อปปิ้งอาหารลดโรคคุมเบาหวาน
- เตรียมพร้อมโภชนาการก่อนตั้งครรภ์ สำหรับหญิงที่ต้องการมีบุตร
- อาหารการกินช่วยถนอมเต้า
- เป็นเบาหวาน จะกินอย่างไรในเดือนเราะมะฎอน หรือรอมฎอน
- อาหารเพิ่มสมรรถภาพทางเพศมีจริงหรือ ?
- อาหารช่วยลดอาการปวดท้องช่วงมีรอบเดือน
- อาหารเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง
- อาหารช่วยปรับเปลี่ยนอารมณ์ ปรับสมดุลสมอง
- โรคเกาต์ ( Gout ) เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ?
- อาหารชะลอสายตาเสื่อม
- อาหารกับต่อมไทรอยด์
- พลังงานที่ร่างกายต้องการ
- โภชนาการสำหรับสุขภาพผมที่ดี
- โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้ชาย
- แสงแดดมีประโยชน์มากกว่าที่คุณคิด
- แหล่งกำเนิดของน้ำมันไข
- แสงแดดเสริมสร้างกระดูก
- มารู้จักฉลากโภชนาการกันเถอะ
- โภชนาการเพื่อสุขภาพผิวสวย
- อาหารที่ทำให้แก่ช้ามีอะไรบ้าง
- เลือกรับประทานอย่างไรให้นอนหลับง่ายขึ้น
- กินอาหารมังสวิรัติช่วยให้ห่างไกลโรค
- อาหารบำบัดอาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง
- การเลือกรับประทานอาหารต้านความเครียด
- พลังงาน 5 ชนิดในร่างกายที่ควรรู้
- 7 ขั้นตอนสร้างสมดุลให้ชีวิต
- การสูญเสียคุณค่าของสารอาหาร ( Nutrient Losses )
- เมื่ออาหารเข้าปาก เกิดกระบวนการอะไรขึ้นในร่างกาย
- 6 พืชผักสมุนไพรกับการช่วยดูแลสุขภาพ
- ดูแลชีวิต พิชิตโรค
- กล้ามเนื้อหัวใจตาย เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต
- ประโยชน์ทั่วไปของไขมันบริโภค
- อาหารที่ช่วยเสริมภูมิต้านทาน
- แสงแดดช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจได้อย่างไร?
- ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปใช้สารปรุงแต่งอะไรบ้าง?
- เลือกอาหารให้เหมาะกับผู้สูงวัยอย่างไร?
- มาตรฐานน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำประปาที่ดีควรเป็นเช่นไร
- ประเภทและประโยชน์ของน้ำมันไขจากพืช
- น้ำมันพืช กับ น้ำมันหมู อะไรดีกว่ากัน ?
- เราควรดื่มน้ำวันละ 8 แก้วจริงหรือ?
- อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเลือดจาง
- สารให้รสหวานแทนน้ำตาล
- การจำแนกประเภทของน้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหาร
- อาหารสำหรับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาต
- กินน้ำตาลอย่างไร ไม่ให้เสียสุขภาพ
- โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา ( Stroke )
- ชนิดของกรดไขมัน ( Fatty Acid ) และไขมันทรานส์ ( Trans Fat )
- การรับประทานผักประจำวันที่เหมาะกับคนไทย
- โรคเมตาโบลิกซินโดรม ( Metabolic Syndrome )
ช็อกโกแลต
ช็อกโกแลต ( chocolate ) คือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโกโก้ ( cocoa ) โดยการนำเมล็ดโกโก้กะเทาะเปลือก ( cocoa nib ) แล้วนำเนื้อโกโก้ไปบด ( cocoa mass ) เป็นผงโกโก้ ( cocoa powder ) จากนั้นใส่ไขมันโกโก้ ( cocoa butter ) จนได้โกโก้ที่หนืด ( ช็อกโกแลตลิเคอร์ ) และเติมแต่งกลิ่นด้วย น้ำตาล น้ำนม สารให้กลิ่นรส และ ส่วนประกอบอื่น เช่น ผลไม้แห้ง ถั่วลิสง นัท ตามชอบ นอกจากนี้ช็อกโกแลต หรือดาร์กช็อกโกแลต สัญลักษณ์แห่งความรักและมิตรภาพจึงถูกใช้เป็นของขวัญในเทศกาลต่างๆ เช่น วันวาเลนไทน์ วันปีใหม่ วันคริสต์มาส วันเกิด วันครบรอบ วันรับปริญญา ของขวัญแต่งงาน และใช้ประดับต้นคริสต์มาส
ช็อกโกแลตมีกี่ชนิด
1. ช็อคโกแลตขมนำ ( unsweetened chocolate หรือ bitter chocolate ) เป็นช็อกโกแลตที่ประกอบด้วยประกอบด้วยโกโก้ลิเคอร์ ( Cocoa Liquor ) หรือโกโก้เค้ก ( Cocoa Cake ) เนยโกโก้ และน้ำตาล แต่จะมีน้ำตาลเพียงเล็กน้อย มีรสขมมากกว่ารสหวาน
2. ช็อคโกแลตดำ ( Dark chocolate ) เป็นช็อกโกแลตที่ประกอบด้วยประกอบด้วยโกโก้ลิเคอร์ ( Cocoa Liquor ) หรือโกโก้เค้ก ( Cocoa Cake ) เนยโกโก้ และน้ำตาล
3. ช็อคโกแลตนม ( milk chocolate ) ประกอบด้วยโกโก้ลิเคอร์ ( Cocoa Liquor ) หรือโกโก้เค้ก ( Cocoa Cake ) เนยโกโก้ นมผง และน้ำตาล
4. ช็อคโกแลตขาว ( White chocolate ) เป็นช็อกโกแลตที่ไม่มีส่วนประกอบของโกโก้ลิเคอร์ ( Cocoa Liquor ) หรือโกโก้เค้ก ( Cocoa Cake ) แต่จะประกอบด้วยเนยโกโก้ นม และน้ำตาล เนื้อช็อกโกแลตมีสีขาวล้วน
5. ช็อคโกแลตเนยโกโก้ ( Coating nass ) เป็นช็อกโกแลตที่มีส่วนประกอบของเนยโกโก้สูงหรือใช้สารทดแทนเนยโกโก้ชนิด non-lauric CBR ทำให้เนื้อช็อกโกแลตแข็งตัวเร็ว เหมาะสำหรับใช้เคลือบหรือชุบขนมให้ด้านนอกขนมมีแลดูสวยงาม ผิวมีความเนียนเรียบ และแลดูมันวาว อีกทั้งยังเพื่อเพิ่มรสช็อกโกแลตให้แก่ขนมเพียงเล็กน้อย โดยไม่ทำให้รสชาติขนมเปลี่ยนไปมาก
6. ช็อคโกแลตคอมพาวด์โคทติง ( Compound coatings chocolate ) เป็นช็อกโกแลตผสมที่มีการเติมไขมันพืชทดแทนเนยโกโก้ และใช้ผงโกโก้ ( Cocoa Power ) แทนโกโก้ลิเคอร์ ( Cocoa Liquor ) ทำให้เติมเครื่องแต่งสีหรือรสได้ตามต้องการ
7. คูเวอร์เจอร์ช็อคโกแลต ( Couverture chocolate ) หมายถึง ช็อกโกแลตที่มีส่วนผสมของเนยโกโก้มาก มีไขมันมากกว่า 30 เปอเซ็นต์ และมีส่วนผสมของ น้ำตาล น้ำนม เหมาะสำหรับใช้เคลือบอาหาร
8. ช็อคโกแลตชนิดครีม หมายถึง ช็อกโกแลตที่ใส่น้ำตาล ครีม
9. ช็อคโกแลตชนิดเส้น ช็อกโกแลตชนิดเกร็ด ( chocolate chip ) หมายถึง ช็อกโกแลตที่ทำเป็น เส้น หรือ เม็ดขนาดเล็ก ใช้เป็นส่วนผสมในเบเกอรี่ ( bakery )
การกินช็อกโกแลต ทำให้สุขภาพดี เพราะอุดมด้วยสารฟลาโวนอยด์ที่ช่วยบำรุงหลอดเลือดให้แข็งแรง ช็อกโกแลตยิ่งมีสีดำเข้มยิ่งดีต่อสุขภาพ
กรรมวิธีการผลิตช็อกโกแลต
1. การผสม ( blending ) เพื่อผสมส่วนผสมต่าง ๆ ให้เข้ากัน โดยมีส่วนผสมตามสูตรและชนิดของผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตที่ต้องการ เช่น ช็อกโกแลตดำ ( dark chocolate ) มีส่วนผสมหลัก คือ เนยโกโก้ ( cocoa liquor) ผงโกโก้ น้ำตาล ส่วนช็อกโกแลตนมจะมีส่วนผสมของนมหรือนมผงเพิ่ม อาจมีการใช้อิมัลซิไฟเออร์ ( emulsifier ) เช่น เลซิติน ( lecithin ) เพื่อปรับปรุงเนื้อสัมผัส
2. conching
3. tempering
4. ขึ้นรูปในพิมพ์ ( molding )
ช็อกโกแลตดีต่อสุขภาพหรือไม่
ช็อกโกแลตทำให้สุขภาพดี เพราะอุดมด้วยสารฟลาโวนอยด์ที่ช่วยบำรุงหลอดเลือดให้แข็งแรง แต่ช็อกโกแลตที่มีปริมาณโกโก้แท้น้อย เช่น ไวท์ช็อกโกแลต และช็อกโกแลตนม เป็นช็อกโกแลตที่ควรหลีกเลี่ยง เพราะเป็นช็อกโกแลตที่มีปริมาณน้ำตาล ไขมัน และมีสีผสมอาหารสังเคราะห์ปนอยู่สูง ซึ่งมีปริมาณสารฟลาโวนอยด์น้อย ดังนั้นช็อกโกแลตที่เลือกควรมีโกโก้แท้ผสมอย่างน้อยร้อยละ 70 และสีของช็อกโกแลตก็ควรออกไปทางดำเข้ม เพราะช็อกโกแลตยิ่งมีสีดำเข้มยิ่งดีต่อสุขภาพ
คุณค่าทางโภชนาการ
ช็อกโกแลต 100 กรัม ( โกโก้ 70-85% ) ให้พลังงาน 647.33 แคลอรี
สารอาหาร | ปริมาณสารอาหาร |
ไขมัน | 42.63 กรัม |
โปรตีน | 7.79 กรัม |
คาร์โบไฮเดรต | 45.90 กรัม |
น้ำตาล | 23.99 กรัม |
ใยอาหาร | 10.9 กรัม |
วิตามินเอ | 2 ไมโครกรัม |
ไทอามีน (บี1) | 0.034 มิลลิกรัม |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | 0.078 มิลลิกรัม |
ไนอาซิน (บี3) | 1.076 มิลลิกรัม |
วิตามินบี6 | 0.38 มิลลิกรัม |
วิตามินอี | 0.38 มิลลิกรัม |
วิตามินอี | 0.59 มิลลิกรัม |
วิตามินเค | 7.3 ไมโครกรัม |
แคลเซียม | 73 มิลลิกรัม |
เหล็ก | 11.90 มิลลิกรัม |
แมกนีเซียม | 228 มิลลิกรัม |
ฟอสฟอรัส | 308 มิลลิกรัม |
โพแทสเซียม | 715 มิลลิกรัม |
โซเดียม | 20 มิลลิกรัม |
สังกะสี | 3.31 มิลลิกรัม |
คาเฟอีน | 80 มิลลิกรัม |
น้ำ | 1.37 กรัม |
ประโยชน์ของช็อกโกแลต
- การกินช็อกโกแลตอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งช่วยลดความเสี่ยงเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจได้สูงถึงร้อยละ 44
- ช่วยขยายหลอดเลือด ป้องกันหลอดเลือดแข็งตัว
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจดจำของสมองให้นานมากขึ้นถึง 2-3 ชั่วโมง
- ช่วยปรับสมดุลความดันโลหิตลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานประเภท 2
- ช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ยับยั้งการเกิดเซลล์มะเร็ง
- ช่วยลดการสะสมของแบคทีเรียในช่องปาก
- การกินช็อกโกแลตขนาดแค่เหรียญบาทเป็นประจำทุกวัน ก็สามารถช่วยควบคุมน้ำหนักตัวได้
- คนท้องที่กินช็อกโกแลตเป็นประจำมีแนวโน้มว่าลูกน้อยในครรภ์เป็นเด็กอารมณ์ดี ลดความเสี่ยงต่อครรภ์เป็นพิษ
- ช่วยป้องกันเซลล์ผิวถูกทำลายจากแสงแดดได้
- ช่วยกระตุ้นให้สมองหลั่งสารเอ็นโดรฟินออกมาปรับสมดุลอารมณ์ ทำให้อารมณ์ดีขึ้น
คุณค่าทางโภชนาการของดาร์กช็อกโกแลต
ดาร์กช็อกโกแลตปริมาณ 100 กรัมให้พลังงาน 590 แคลอรี
สารอาหาร | ปริมาณสารอาหารที่ได้รับ |
เส้นใยอาหาร | 20 กรัม |
ไขมัน | 51 กรัม |
โปรตีน | 15 กรัม |
คาร์โบไฮเดรต | 8 กรัม |
น้ำตาล | 1 กรัม |
โพแทสเซียม | 1,650 มิลลิกรัม |
โซเดียม | 25 มิลลิกรัม |
เหล็ก | 5 มิลลิกรัม |
แคลเซียม | 120 มิลลิกรัม |
วิธีเลือกดาร์กช็อกโกแลตที่ดีต่อสุขภาพ
- ผงดาร์กช็อกโกแลตเข้มข้น
- ปริมาณน้ำตาลน้อย
- ไม่มีสารเติมแต่ง
- ไม่มีสารกันบูด
- ไม่มีการเติมแต่งรสชาติ
สารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย
- ในช็อคโกแลต 100 กรัม มีสารฟีนิลเอทิลามีน ( Phenylethylamine ) อยู่มากถึง 660 มิลลิกรัม ทำหน้าที่กระตุ้นการหลั่งสารโดพามีน ( Dopamine ) และอะดรีนาลีน ( Adrenaline ) ให้หลั่งออกมาแล้วทำให้เกิดความสุขร่างกายกระฉับกระเฉง และเพิ่มน้ำตาลกลูโคสหลั่งเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด ช่วยเร่งกายใช้พลังงานในร่างกาย เพิ่มความดันเลือดให้สูงขึ้น หัวใจเต้นแรง
- ช็อคโกแลตยังมีสารฟีนิลอะลานีน ( Phenylalanine ) ช่วยให้มีอารมณ์รื่นเริงสนุกสนาน อารมณ์รื่นเริงแจ่มใส
- ช็อคโกแลตมีสารทีโอโบรไมน์ ( Theobromine ) เป็นสารรสขมที่มีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งสารเอ็นโดรฟิน ( Endorphin ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนแห่งความสุขที่ทำให้รู้สึกกระฉับกระเฉง มีความสุข
- ในช็อคโกแลตมีกรดอะมิโนชื่อ ทริปโตเฟน ทำหน้าที่ควบคุมซีโรโทนิน ( Serotonin ) สารสื่อประสาทที่ควบคุมอารมณ์ ช่วยให้ผ่อนคลายความกังวล บรรเทาอาการเมื่อยล้า
- ช็อคโกแลตมีกาเฟอีน ( Caffeine ) เล็กน้อย ช่วยให้รู้สึกตื่นตัว มีสมาธิ และมีฤทธิ์เป็นยาขับปัสสาวะอย่างอ่อนๆ
- ช็อคโกแลตดำประมาณครึ่งออนซ์สามารถต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย และค่าของคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี ( LDL ) ในเลือดจะลดลง ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ
- สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ในช็อคโกแลต สามารถป้องกันเซลล์ของร่างกายไม่ให้ทำปฏิกิริยากับอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นตัวการในการเกิดโรคหัวใจและโรคมะเร็ง
- สารพอลีฟีนอล ( polyphenol ) สามารถต้านฤทธิ์ของอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบและการก่อตัวของลิ่มเลือดในเซลล์ต่าง ๆ ช่วยเสริมให้หลอดเลือดแข็งแรง มีส่วนช่วยเพิ่มไขมันคอเลสเตอรอลชนิด HDL และ ลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง พบมาก ได้แก่ ในพืชตระกูลถั่ว พืชผักและผลไม้ นอกจากนี้ยังพบในไวน์แดง องุ่น ช็อกโกแลต โกโก้ ชาเขียว น้ำมันมะกอก และธัญพืช
บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
เอกสารอ้างอิง
ขอบคุณ คลิปสาระความรู้ดี ๆ : หมอปุ้ม พญ. สิรนาถ สุขภาพดี คุณมีได้
Chocolate / ช็อกโกแลต (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.foodnetworksolution.com [17 มกราคม 2563]
ช็อกโกแลต สรรพคุณ และวิธีทำช็อกโกแลต (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://puechkaset.com [17 มกราคม 2563]