- แสงแดดช่วยรักษากระดูก
- น้ำตาลมะพร้าว ที่สายเฮลตี้ ( HEALTHY ) ไม่ควรพลาด
- สรรพคุณและประโยชน์ของพุทราจีน
- กระเจี๊ยบเขียว ผักพื้นบ้านแหล่งแคลเซียมจากธรรมชาติ
- ไวรัส RSV อาการ การป้องกัน และการรักษา
- มะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลไม้รสเปรี้ยวฆ่ามะเร็งและเนื้องอก
- นมอัดเม็ด ไม่มีน้ำตาลช่วยป้องกันฟันผุ
- ร้อนในเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง
- วิธีการประเมินความเสี่ยงความเครียด ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตนเอง
- โรคเครียด สามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
- ฟันผุ สามารถรักษาและป้องกันได้
- วิธีแก้ท้องผูกง่าย ๆ บทความนี้ช่วยคุณได้
- ไฟเบอร์พรีไบโอติกมีประโยชน์ต่อระบบขับถ่ายอย่างไร
- แลคโตบาซิลลัส จุลินทรีย์นี้มีประโยชน์อย่างไร
- ชีสกินกับอะไรก็อร่อย คัดเฉพาะเมนูชีสเด็ดๆ มาพร้อมเสริฟ
- มหัศจรรย์นมผึ้ง รักษาอาการวัยทองเห็นผลดีเยี่ยม
- โยเกิร์ตดีต่อคนรักสุขภาพ
- คอลลาเจนคืออะไร กินคอลลาเจนตอนไหนดี บทความนี้มีคำตอบ
- นมเปรี้ยว เครื่องดื่มที่ได้ทั้งสุขภาพและความงามที่สาว ๆ ไม่ควรพลาด
- นม ( Milk ) ป้องกันมะเร็ง หลอดเลือดหัวใจได้จริงหรือไม่?
- กิมจิ ( Kimchi )
- ผักชีล้อม ประโยชน์ และเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
- ไฝเกิดจากอะไร เกิดตำแหน่งไหนได้บ้าง เอาไฝออกอย่างไร
- วิธีลดกลิ่นตัว ทำยังไงให้กลิ่นตัวอันไม่พึงประสงค์หายไป
- เท้าเหม็น ดับกลิ่นเท้าอันไม่พึงประสงค์ได้ด้วยตัวเองที่บ้าน
- ห้อเลือด เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ภูมิแพ้ผิวหนัง เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- เล็บอักเสบ เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- ผึ้งต่อย บรรเทารักษาอาการจากการโดนผึ้งต่อยอย่างไร
- เล็บเป็นคลื่น เกิดจากอะไร บ่งบอกอะไรได้บ้าง
- เชื้อราที่เล็บ เกิดจากอะไร ดูแลรักษาและป้องกันอย่างไร
- เมล็ดเจีย ( Chia Seed ) Super Food ระดับโลก
- หินเกลือดำ ( Volcanic Rock Salt ) คืออะไร
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์บี ( Influenza B ) คืออะไร
- ปฏิบัติตามอย่างถูกวิธี ช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันไวรัสโควิด-19
- วัยทองในผู้ชาย ( Male Menopause ) มีอาการอย่างไร
- แอลคาร์นิทีน ( L- Carnitine ) มีประโยชน์อย่างไร
- หนอนไหม ( Silkworm ) อุดมไปด้วยโปรตีน
- งาขี้ม่อน หรือ งาขี้ม้อน มีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างไร
- โควิด 2019 ( COVID19 )
- คอลลาเจนไทพ์ทู ( Collagen Type II ) มีประโยชน์อย่างไร
- L-Arginine ( แอล-อาร์จินิน ) มีประโยชน์อย่างไร
- ช็อกโกแลต หรือดาร์กช็อกโกแลต
- โกโก้ ( Cocoa ) เมล็ดจากต้นคาเคา ( Cacao )
- เพศสัมพันธ์ ( Sex ) สายใยแห่งรัก
- โรคฉี่หนู ( Leptospirosis ) ภัยเงียบที่มากับหน้าฝนและน้ำท่วม
- สบู่สมุนไพร เพื่อสุขภาพ
- ชงโค สมุนไพรไม้ประดับ สรรพคุณเป็นยาดับพิษไข้ แก้ไอ
- โรคภูมิแพ้ ( Allergy ) เกิดจากอะไร
- ลิ้นหัวใจรั่ว ( Heart Valve Regurgitation ) เป็นอย่างไร ?
- โรคถุงลมโป่งพอง ( Emphysema )
- ภาวะวุ้นตาเสื่อม ( Vitreous Degeneration ) เป็นอย่างไร
- โรคหัด ( Measles ) เกิดได้กับใครบ้าง ?
- สาเหตุการเกิด โรคพยาธิใบไม้ตับ ( Opisthorchiasis )
- ดาวน์ซินโดรม ( Down Syndrome ) เกิดจากอะไร
- ตกขาว ( Leukorrhea หรือ Vaginal Discharge )
- กรดไหลย้อน ( Gastroesophageal Reflux Disease : GERD )
- กัญชากับยาแพทย์แผนไทย
- โรคตากุ้งยิง ( Stye หรือ Hordeolum )
- ออทิสติก ( Autistic Disorder ) คืออะไร
- โรคต้อหิน ( Glaucoma ) เป็นอย่างไร
- โรคพิษสุนัขบ้า ( Rabies ) เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
- ผ้าอนามัยกัญชาลดอาการปวดประจำเดือน ?
- โรคไข้สมองอักเสบ ( West Nile )
- ต่อมทอนซิลอักเสบ ( Tonsillitis )
- โรคพิษสุราเรื้อรัง ( Alcoholism )
- โรคคอตีบ ( Diphtheria )
- โรคเริม ( Herpes Simplex )
- ข้อมูลน่ารู้เรื่องกัญชา
- อาหารที่มีส่วนผสมกัญชารสชาติอร่อยจริงหรือ ?
- โรคบาดทะยัก ( Tetanus )
- โรคไบโพลาร์ ( Bipolar Disorder )
- โรคงูสวัด ( Herpes Zoster )
- โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรค SLE ( Systemic Lupus Erythematosus, SLE )
- โรคดักแด้ ( Epidermolysis Bullosa )
- โรคคางทูม ( Mumps ) คืออะไร
- ไข้หูดับ หรือโรคติดเชื้อ สเตรฟโตคอกคัส ซูอิส ( Streptococcus Suis )
- โรคสังคัง ( Tinea Cruris )
- โรคตาแดง ( Conjunctivitis )
- โรคปอดบวม ( Pneumonia )
- โรคอีสุกอีใส ( Chickenpox / Varicella )
- โรคสายตาสั้น ( Myopia )
- โรคต้อลม ( Pinguecula )
- โรคต้อกระจก ( Cataract )
- ตาบอดสี เกิดจากสาเหตุอะไร รวมวิธีทดสอบตาบอดสี
- ตาบอดข้างใดข้างหนึ่ง ( Blindness / Vision Impairment )
- โรคกลาก ( Ringworm )
- ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ A ( Influenza A หรือ H1N1 )
- วัณโรค ( Tuberculosis ) เกิดได้อย่างไรกัน
- โรคจอประสาทตาเสื่อม ( Age-related Macular Degeneration – AMD )
- น้ำมันพริกไทยดำสกัดเย็น ( Cold Pressed Pepper Oil )
- ไข้เลือดออก ( Dengue hemorrhagic fever )
- โรคแพ้เหงื่อตัวเอง ( Allergic dermatitis )
- กระจกตาอักเสบเรื้อรัง ( Keratitis )
- โรคลมแดดหรือโรคฮีทสโตรก ( Heat Stroke )
- น้ำมันเมล็ดกระบกสกัดเย็น ( Cold pressed wild almond oil )
- น้ำมันเมล็ดเจียสกัดเย็น ( Cold pressed chia seed oil )
- น้ำมันลูกเดือยสกัดเย็น ( Cold pressed millet oil )
- น้ำมันเมล็ดองุ่นสกัดเย็น ( Cold pressed grape seed oil )
- น้ำมันกระเทียมสกัดเย็น ( Cold pressed garlic oil )
- ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง ( SANGYOD RICE )
- น้ำมันมะรุมสกัดเย็น ( Cold pressed Moringa oil)
- ข้าวขาว น้ำตาลต่ำ ข้าวกข 43 ( RD43 )
- น้ำมันงาดำสกัดเย็น ( Cold pressed black sesame )
- น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ( Cold pressed sacha inchi oil )
- น้ำมันพริกสกัดเย็น ( Clod Pressed Capsicum )
- น้ำมันรำข้าว จมูกข้าว ( Cold Pressed Rice Bran Oil )
- กัญชา ( Marijuana ) สมุนไพรทางเลือก
- ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร และส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร
- รักษาฝ้าด้วยหัวไชเท้า ( Radish Essentials )
- งา ( sesame ) เมล็ดพืชที่ไม่ควรมองข้าม
- กาแฟอาราบิก้า ( Arabica )
- การเลือกรับประทานอาหารตามเวลาที่เหมาะสม
- การคำนวณแคลอรี่จากผลไม้รถเข็น
- ความเครียดมีผลกระทบต่อร่างกาย
- วิธีการใช้ยาคุมกำเนิดแบบต่างๆ
- เต้านมสองข้างไม่เท่ากันแก้ไขได้ไหม
- มังคุด ประโยชน์และสรรพคุณที่คาดไม่ถึง
- ว่านเพชรหึงสรรพคุณทางยาที่ไม่ธรรมดา
- ถาม-ตอบ ปัญหากล้ามเนื้อตึงรั้งอาการเจ็บปวดเมื่อยล้าจากภาวะโรคออฟฟิศซินโดรม
- ประโยชน์ของกระดูกสันหลังและ 7 พฤติกรรมที่ทำร้ายกระดูกสันหลัง
- อาหารและโภชนาการที่เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
- วิธีเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันธรรมชาติ
- เล่นน้ำสงกรานต์อย่างไรให้สนุกและปลอดภัย 2019
- ภูมิคุ้มกันในร่างกายคืออะไร
- สเต็มเซลล์ ( Stem Cell ) คืออะไร
- วิธีดูแลตัวเองให้ห่างไกลโรคข้อและกระดูก
- ทำอย่างไรไม่ให้หิวบ่อย
- ประโยชน์ของน้ำมันมะพร้าว
- ลำไส้และจิตใจกำหนดพลังภูมิคุ้มกันที่ใหญ่สุดในร่างกาย
- น้ำมันมะกอกมีคุณประโยชน์อย่างไร ( Olive Oil )
- ประโยชน์ของน้ำมันตับปลา ( Cod Liver Oil )
- ผลิตภัณฑ์นมคืออะไร? ( Milk Product )
- ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ( Oxidation ) คืออะไร
- อาหารต้านความเสื่อมของร่างกาย
- อาหารที่เหมาะสมเมื่อเป็นโรคปลายประสาทเสื่อม
- มารู้จักสารให้ความหวานกันเถอะ
- เส้นใยอาหาร ประโยชน์จากธรรมชาติช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด
- สาเหตุและอาการของโรคหัวใจ
- ประโยชน์ของน้ำมันคาโนลา ( Canola Oil )
- สาเหตุและอาการของโรคซึมเศร้า
- พลังงานที่พอดีมาจากปริมาณอาหารเท่าใด ?
- วิธีการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
- แสงแดดรักษาดวงตาให้คงทน
- เตรียมพร้อมช็อปปิ้งอาหารลดโรคคุมเบาหวาน
- เตรียมพร้อมโภชนาการก่อนตั้งครรภ์ สำหรับหญิงที่ต้องการมีบุตร
- อาหารการกินช่วยถนอมเต้า
- เป็นเบาหวาน จะกินอย่างไรในเดือนเราะมะฎอน หรือรอมฎอน
- อาหารเพิ่มสมรรถภาพทางเพศมีจริงหรือ ?
- อาหารช่วยลดอาการปวดท้องช่วงมีรอบเดือน
- อาหารเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรง
- อาหารช่วยปรับเปลี่ยนอารมณ์ ปรับสมดุลสมอง
- โรคเกาต์ ( Gout ) เกิดขึ้นจากสาเหตุใด ?
- อาหารชะลอสายตาเสื่อม
- อาหารกับต่อมไทรอยด์
- พลังงานที่ร่างกายต้องการ
- โภชนาการสำหรับสุขภาพผมที่ดี
- โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้ชาย
- แสงแดดมีประโยชน์มากกว่าที่คุณคิด
- แหล่งกำเนิดของน้ำมันไข
- แสงแดดเสริมสร้างกระดูก
- มารู้จักฉลากโภชนาการกันเถอะ
- โภชนาการเพื่อสุขภาพผิวสวย
- อาหารที่ทำให้แก่ช้ามีอะไรบ้าง
- เลือกรับประทานอย่างไรให้นอนหลับง่ายขึ้น
- กินอาหารมังสวิรัติช่วยให้ห่างไกลโรค
- อาหารบำบัดอาการเหนื่อยล้าเรื้อรัง
- การเลือกรับประทานอาหารต้านความเครียด
- พลังงาน 5 ชนิดในร่างกายที่ควรรู้
- 7 ขั้นตอนสร้างสมดุลให้ชีวิต
- การสูญเสียคุณค่าของสารอาหาร ( Nutrient Losses )
- เมื่ออาหารเข้าปาก เกิดกระบวนการอะไรขึ้นในร่างกาย
- 6 พืชผักสมุนไพรกับการช่วยดูแลสุขภาพ
- ดูแลชีวิต พิชิตโรค
- กล้ามเนื้อหัวใจตาย เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต
- ประโยชน์ทั่วไปของไขมันบริโภค
- อาหารที่ช่วยเสริมภูมิต้านทาน
- แสงแดดช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจได้อย่างไร?
- ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปใช้สารปรุงแต่งอะไรบ้าง?
- เลือกอาหารให้เหมาะกับผู้สูงวัยอย่างไร?
- มาตรฐานน้ำดื่มบรรจุขวดและน้ำประปาที่ดีควรเป็นเช่นไร
- ประเภทและประโยชน์ของน้ำมันไขจากพืช
- น้ำมันพืช กับ น้ำมันหมู อะไรดีกว่ากัน ?
- เราควรดื่มน้ำวันละ 8 แก้วจริงหรือ?
- อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยเลือดจาง
- สารให้รสหวานแทนน้ำตาล
- การจำแนกประเภทของน้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหาร
- อาหารสำหรับผู้ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาต
- กินน้ำตาลอย่างไร ไม่ให้เสียสุขภาพ
- โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา ( Stroke )
- ชนิดของกรดไขมัน ( Fatty Acid ) และไขมันทรานส์ ( Trans Fat )
- การรับประทานผักประจำวันที่เหมาะกับคนไทย
- โรคเมตาโบลิกซินโดรม ( Metabolic Syndrome )
รักษากระดูกด้วยแสงแดด
แสงแดด ที่หลากๆ คนอาจยังไม่ทราบว่า โรคที่เกี่ยวกับสุขภาพของกระดูก สามารถรักษาโดยใช้แสงแดดช่วยรักษากระดูกเป็นตัวช่วยได้ โดยแสงแดดจะไปช่วยสร้างวิตามินดีให้กับร่างกาย ซึ่งวิตามินดี ที่ได้จากแสงแดดถือว่าเป็นวิตามินธรรมชาติ ที่มีคุณภาพสูงก ว่า การได้รับวิตามินสังเคราะห์จากพวกอาหารเสริม โดยวิตามินดีจะไปช่วยในการควบคุมการดูดแคลเซียมเข้าสู่ร่างกายเพื่อนำไปสร้าง หรือซ่อมแซมกระดูกโดยตรง
กระดูกคืออะไร ?
กระดูก หรือ Bone เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ( Connective Tissue ) ที่เป็นโครงร่างที่มีความแข็งแรง มีหน้าที่เกี่ยวกับการค้ำจุนและรักษาโครงสร้างร่างกายของมนุษย์ ในวัยที่ร่างกายเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว มนุษย์จะมีกระดูกทั้งหมดประมาณ 206 ชิ้น เชื่อมต่อกันเป็นโครงร่าง โดยมี ข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อ เป็นตัวยึดเหนี่ยวกระดูกในแต่ละชิ้นให้เชื่อมติดกัน ยกเว้น กระดูกอ่อนโคนลิ้น ที่เป็นกระดูกที่อยู่ในคอ จะเป็นกระดูกเพียงชิ้นเดียวในร่างกายมนุษย์ที่ไม่เกิดข้อต่อเชื่อมกับกระดูกอื่นๆเลย
ประเภทของโครงสร้างกระดูก
โครงสร้างของกระดูกแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ โครงสร้างกระดูกแกน กับโครงสร้างกระดูกรยางค์ ซึ่งจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างกระดูกแกน ( Axial Skeleton )
โครงสร้างกระดูกแกน ( Axial Skeleton ) คือ ชุดของกระดูกที่อยู่บริเวณกลางลำตัวและศีรษะของร่างกายมนุษย์ มีหน้าที่สำคัญคือ ช่วยปกป้องอวัยวะสำคัญในร่างกาย ประกอบไปด้วยกระดูกจำนวน 80 ชิ้น เช่น
- กระดูกกะโหลกศีรษะ ( Skull ) ภายในกะโหลกศีรษะจะมีลักษณะเป็นโพรงสำหรับ บรรจุสมอง โดยมีกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกย่อยหลายๆ ชิ้นเชื่อมต่อติดกัน กระดูกกะโหลกศีรษะมีหน้าที่ห่อหุ้มและป้องกันสมอง จากการกระทบกระเทือนต่างๆ
- กระดูกสันหลัง ( Vertebrae ) เป็นแกนกระดูกชิ้นหลัก ที่ช่วยค้ำจุน และช่วยรองรับน้ำหนักภายในร่างกาย เป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางด้านหลังของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้นเล็กๆ เป็นข้อๆ ติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น โดยระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ จะมีแผ่นกระดูกที่เรียกว่า หมอนรองกระดูก ( Intervertebral Disc ) เป็นกระดูกอ่อน ทำหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อ เพื่อป้องกันการเสียดสีกันของกระดูกแต่ละชิ้น หากหมอนรองกระดูกเสื่อมจะทำให้รู้สึกปวดหลัง และขยับตัวได้ลำบากมากขึ้น
- กระดูกซี่โครง ( Ribs ) เป็นกระดูก ที่มีลักษณะเป็นซี่ๆ จำนวน 12 คู่ ทำหน้าที่ป้องกันบริเวณส่วนอก กระดูกซี่ โครงจะเชื่อมกับกระดูกอก ( Sternum ) ด้วยกระดูกอ่อน ระหว่างกระดูกซี่โครง จะมีกล้ามเนื้อที่คอยยึดซี่โครงทั้งแถบนอกและแถบใน ทำหน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ โดยซี่โครงขยับเปิดช่องให้ปอดขยายตัวรับอากาศเมื่อหายใจเข้า และหดตัวเมื่อปอดหายใจออกเพื่อบีบอากาศเสียออกไป
2. โครงสร้างกระดูกรยางค์ ( Appendicular Skeleton )
โครงสร้างกระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton)เป็นโครงกระดูกที่อยู่รอบนอกของกระดูกแกน ทำหน้าที่ในการเคลื่อนไหวและปกป้องอวัยวะในระบบ การย่อยอาหาร การขับถ่าย และการสืบพันธุ์ มีทั้งหมด 126 ชิ้น ตัวอย่าง เช่น กระดูกไหล่ ( Shoulder Girdle ) กระดูกต้นแขน ( Humerus ) กระดูกข้อมือ ( Carpal Bone ) กระดูกเชิงกราน ( Hip Bone ) และ กระดูกต้นขา ( Femur ) เป็นต้น
หน้าที่สำคัญของกระดูก
นอกจากเป็นโครงสร้างให้กับร่างกายแล้ว กระดูกยังมีหน้าที่อื่นๆ ที่สำคัญ เช่น
1. ป้องกันอันตรายให้กับอวัยวะต่างๆ กระดูกจะช่วยป้องกันอวัยวะภายในร่างกายที่มีความบอบบาง ไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน หรืออันตรายจากสิ่งภายนอก
2. รักษารูปร่างให้คงที่และทรงตัวได้ กระดูกคอยทำหน้าที่ เป็นโครงร่างให้ร่างกายมนุษย์สามารถรักษารูปทรงอยู่ได้ และช่วยให้มนุษย์สามารถทรงตัวได้ด้วย
3. ช่วยให้เกิดการเคลื่อนไหว กระดูกทำงานร่วมกับกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่งของร่างกาย หากไม่มีกระดูกมนุษย์ก็คงไม่สามารถขยับ หรือเคลื่อนไหวร่างกายได้
4. ช่วยให้เกิดการได้ยิน กระดูกช่วยในการนำคลื่นเสียง และช่วยในการได้ยิน เช่น กระดูกค้อน ทั่ง และ โกลน ซึ่งอยู่ในหูตอนกลาง ทำหน้าที่นำคลื่นเสียงผ่านไปยังหูตอนใน ทำให้เกิดการได้ยินขึ้น
5. เป็นแหล่งสร้างเม็ดเลือดที่สำคัญต่างๆ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด โดยถูกสร้างขึ้นมาจากไขกระดูก
6. เป็นแหล่งเก็บสะสมแร่ธาตุที่สำคัญ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส เอาไว้ใช้ในยามฉุกเฉินที่ร่างกายต้องการ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเก็บแคลเซียมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย
7. เก็บสะสมสารส่งเสริมการเจริญเติบโตบางชนิด เช่น โบน มอร์โฟเจนเนติก โปรตีน ( Bone Morphogenesis Protein หรือ BMPs ) เป็นโปรตีนช่วยในระบบการสร้างกระดูกและกระดูกอ่อน
8. เก็บสะสมไขมันในรูพรุนของกระดูก คือ ไขกระดูกเหลือง
9. รักษาความสมดุลในเลือด ช่วยควบคุมค่าความเป็นกรด ด่างในร่างกายให้คงที่ เมื่อเลือดเป็นด่างมาก กระดูกก็จะดูดซึมสารจำพวกเกลืออัลคาไลน์ ( Alkaline Salts ) เข้ามาเก็บไว้ในกระดูก เมื่อเลือดเป็นกรดมาก กระดูกก็จะปลดปล่อยสารจำพวกเกลืออัลคาไลน์ และแคลเซียมออกสู่กระแสเลือดเพื่อลดความเป็นกรดในเลือด
10. ช่วยสลายพิษในร่างกายพร้อมเนื้อเยื่อ กระดูกสามารถดูดซึม เก็บสะสมโลหะหนักที่เป็นพิษต่อร่างกายออกมาจากกระแสเลือด เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับร่างกาย เมื่อร่างกายอยู่ในภาวะปกติ กระดูกจะค่อยๆปลดปล่อยโลหะหนักเหล่านี้ออกไปยังม้ามและตับ ให้ขจัดออกทางระบบขับถ่ายต่อไป
11. ควบคุมกระบวนการเผาผลาญฟอสฟอรัส ( Phosphate Metabolism ) ซึ่ง ฟอสฟอรัสเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ หรือสารน้ำเกลือ ที่มีบทบาทต่อทั้งการซ่อมสร้างกระดูก
แนวปฏิบัติเพื่อให้ร่างกายมีสุขภาพกระดูกที่แข็งแรง
1.ดื่มน้ำมะพร้าวก่อนอาหารครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมง โดยอาจจะดื่มในช่วงเวลาอาหารเช้า อาการกลางวัน หรือช่วงที่ท้องว่างก็ได้ เนื่องจากในน้ำมะพร้าว จะมีกรดฮอร์โมนที่ช่วยในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของกระดูก นอกจากนี้ในน้ำมะพร้าวยังมากไปด้วยสารอาหารที่ส่งผลดีต่อกระดูกอย่าง โปรตีน แคลเซียม และฟอสฟอรัส โดยการดื่มให้จำกัดปริมาณเพียงครั้งละ 1 ลูกเท่านั้น
2. เน้นทานอาหารประเภทผักและผลไม้ในมื้อเช้า โดยเลือกผักใบเขียวที่มีแคลเซียมสูง ส่วนผลไม้ให้เลือกตามฤดูกาลเท่านั้น เนื่องจาก จะได้ผลไม้ที่สดใหม่ ไม่ผ่านการอาบรังสี จึงทำให้มีเอนไซม์มาก ซึ่งเอนไซน์เหล่านี้ที่ได้จากผักและผลไม้ จะช่วยในการซ่อมแซมและการสร้างกระดูกได้อย่างดีเลยทีเดียว
3. กินอาหารมังสวิรัติ เช่น ฟองเต้าหู้ ถั่วลันเตา เต้าหู้ น้ำเต้าหู้ เป็นต้น เพราะเป็นโปรตีนที่ได้จากพืชที่มีแคลเซียมสูง และต้องเป็นอาหารที่ไม่มีรสชาติจัดจ้าน เพื่อไม่ให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรดในร่างกาย เพราะหากเกิดภาวะเลือดเป็นกรดแล้ว ปริมาณแคลเซียมในร่างกายจะลดลงตามไปด้วย
4. ควบคุมอาหารมื้อเย็น ในการทานอาหารมื้อเย็น ควรเลือกทานอาหารประเภทผักหรือผลไม้สดให้มาก และไม่ควรทานอาหารให้เยอะจนเกินไป
5.ดื่มน้ำเปล่าให้มาก การดื่มน้ำเปล่าที่สะอาดในปริมาณมากๆ จะช่วยให้การดูดซึมใบอาหารเข้าสู่ร่างกายทำได้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็นอาหารของจุลินทรีย์ และช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานได้ดียิ่งขึ้น
6. เลี่ยงอาหารที่มีรสหวาน มัน และเค็ม เนื่องจากอาหารประเภทนี้หากได้รับในปริมาณมาก อาจจะส่งผลเสียกับเลือด ทำให้เลือดเกิดความเป็นกรดได้ หากเลือดเกิดความเป็นกรดแล้ว กลไกทางร่างกายจะไปดึงแคลเซียมออกจากกระดูก เพื่อนำแคลเซียมเหล่านั้นไปปรับความสมดุลในเลือดให้กลับมาเป็นปกติ ซึ่งหากเกิดขึ้นบ่อยๆปริมาณแคลเซียมในกระดูกจะลดลงและทำให้กระดูกเสื่อมได้เร็วกว่าปกติ
7. รู้จักบริหารสภาวะอารมณ์ตนเองให้ดีอยู่เสมอ เพราะเนื่องจากการมีสภาวะอารมณ์ที่ไม่ดี หรือมีความเครียดบ่อยๆ จะส่งผลให้เลือดเป็นกรดและข้น ซึ่งเป็นภาวะอ่อนไหวต่อการสร้างกระดูกอย่างมาก
8. ได้รับแสงแดดที่เพียงพอ ในแต่ละวันควรให้ร่างกายได้รับปริมาณของแสงแดดที่เพียงพอ โดยอาจใช้วิธีการรับแสงแดด เช่น คว่ำหน้าตากแดด 30-40 นาที และ นอนหงายตากแดดอีก 20-30 นาที และควรเลือกใส่เสื้อผ้าสีอ่อนในการรับแสงแดด เพื่อให้แสงแดดเข้าสู่ผิวหนังได้มากที่สุด โดยเฉพาะสีขาว
9.ระมัดระวังการทานยาแต่ละชนิดโดยเฉพาะยาแก้ปวดหัว เนื่องจากยารักษาโรคแต่ละชนิด หากได้รับในปริมาณที่สูงมากจนเกินไป จะมีผลต่อ กระเพาะอาหาร ตับ และไต และยังส่งผลทำให้สภาวะเลือดเป็นกรดได้ด้วย หากมีอาการปวดหัวอาจใช้วิธีการอื่นในการรักษาเช่น ใช้ผ้าขนหนูผืนเล็กบางชุบน้ำบิดให้หมาดวางบนบริเวณที่ปวดสัก 1 ชั่วโมง เพื่อให้อาการทุเลาลง
ปัญหาของโรคกระดูกที่หลายคนมักพบเจอ คือการเสื่อมของกระดูกก่อนเวลาอันสมควร ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลให้กระดูกเสื่อมไปก่อนเวลานี้ ส่วนหนึ่งก็มาจากการใช้ชีวิตและพฤติกรรมที่ผิดๆ ที่บั่นทอนให้สุขภาพกระดูกค่อยๆแย่ลงจนเกิดเป็นภาวะโรคกระดูกเสื่อมขึ้น ดังนั้นหากไม่อยากให้เกิดภาวะโรคกระดูกเสื่อมกับตนเอง ควรรู้จักดูสุขภาพกระดูกให้ดีให้แข็งแรงอยู่เสมอ และต้องลดพฤติกรรมเสี่ยงที่ส่งผลเสียทำลายกระดูกด้วย โดยวิธีการดูแลกระดูกที่ง่ายที่สุด คือ การได้รับปริมาณแสงแดดที่เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายนำไปสร้างวิตามินดีที่ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรงนั้นเอง
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
นิดดา หงษ์วิวัฒน์. แสงแดด โอสถมหัศจรรย์ แสงแห่งชีวิตที่เป็นยารักษาโรค. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์แสงแดด จำกัด, 2558., 223 หน้า. ISBN 978-616-284-592-5
MacAdam, David L. (1985). Color Measurement: Theme and Variations (Second Revised ed.). Springer. pp. 33–35. ISBN 0-387-15573-2.