- ฉีดโบท็อกซ์ อันตรายไหม ก่อนจะทำต้องรู้อะไรบ้าง บทความนี้มีคำตอบ
- ฉีดฟิลเลอร์ คืออะไร มีข้อดีข้อเสียอย่างไร อันตรายหรือไม่บทความนี้มีคำตอบ !
- ฟิลเลอร์คืออะไร สวยแต่เสี่ยงหรือไม่ ฉีดบริเวณไหนได้บ้าง ใต้ตา ปาก จมูก คาง
- คัพ 75 A จะอัพไซส์ได้แค่ไหน
- โหงวเฮ้งแบบไหนที่ถือว่าดี
- ผู้ชายก็ทำศัลยกรรมได้
- การศัลยกรรมยกกระชับแก้ม และสารเติมเต็มโหนกแก้ม
- การดูแลตัวเองหลังทำศัลยกรรม
- การเลือกคลินิกศัลยกรรมที่เหมาะกับตัวเอง
- การทำศัลยกรรมของคนแต่ละช่วงอายุ
- ทำไมต้องศัลยกรรมหน้าผากและไรผม
- การศัลยกรรมที่เหมาะสมสำหรับอาชีพต่างๆ
- เช็คลิสต์ก่อน ศัลยกรรม ( Surgery )
- ศัลยกรรมใบหน้าเพื่อความสมบูรณ์ของใบหน้า โครงหน้าและแนวขากรรไกร
- สิ่งที่เราเคยสงสัยกับการทำศัลยกรรม
- หน้าไม่สวย ขาเรียวสวย ไว้ก่อน
- โบท็อกซ์ (Botox) คืออะไรกัน?
- เสริมหน้าอก เพิ่มเสน่ห์ผู้หญิง
- การดูดไขมันที่ให้ผลลัพธ์ 15 เท่า
- เลเซอร์ ( Laser ) นวัตกรรมเพื่อความงาม
- การป้องกันและการแทรกซ้อนจากการ เสริมจมูก
- แก้ไขตาล่างด้วยการศัลยกรรม
- ไขข้อสงสัยการทำตาและทำตาแบบ ฝ คืออะไร
- วิธีกรีดแผลศัลยกรรมชั้นตาตามความเหมาะสม
- ผ่าตัดศัลยกรรมชั้นตาแบบแผลขนาดเล็ก
- ปรับรูปตาอย่างไรให้ใบหน้าดูดี
- ศัลยกรรมใบหน้าเพื่อคงความอ่อนเยาว์
- เนรมิตจมูกสวยเข้ารูปทรงด้วยศัลยกรรม
- ยกเครื่องศัลยกรรมกระดูกใบหน้า
- ขั้นแรกของการศัลยกรรมที่ควรรู้
- ศัลยกรรมปลูกรากผม ปลุกความมั่นใจ
- 7 ทรงจมูกสุดฮิต ที่สาวไทยนิยมทำมากที่สุด
- ไหมละลาย ของวิเศษจากนางฟ้าใจดี
- เมโสหน้าใส สปาบำบัดเพื่อใบหน้าที่สมบูรณ์แบบ
- เมโสแฟต ( Meso Fat ) แก้ปัญหาความไม่กระชับให้กลับสู่ความสาว
- Hyaluronidases เอนไซม์ที่ช่วยจัดการเซลลูไลท์ที่ไร้ประโยชน์
- กรดไฮยาลูโรนิค ( Hyaluronic acid ) คืออะไร
- ข้อควรรู้ก่อนการ ผ่าตัดกราม ( Jaw Surgery )
- เลเซอร์หลุมสิว รักษาหลุมสิว ด้วย สามวิธีขั้นเทพ
- ตาสองชั้น ศัลยกรรม กรีดตาสองชั้น ราคาเบาๆ ตาสวย ดูธรรมชาติ
- ปลูกผมหุ่นยนต์ รวดเร็วแม่นยำ ไร้ผลข้างเคียง สร้างผมใหม่ที่จะอยู่กับเราไปตลอดชีวิต
- เลเซอร์ฝ้า อย่างไรให้ได้ผลดีมีประสิทธิภาพที่สุด
- ลบรอยสักด้วยเลเซอร์จะหายจริงไหม ทำแล้วจะอันตรายหรือเปล่า โพสต์นี้ต้องอ่าน
- ศัลยกรรมปลูกผม มันคืออะไร ปลูกแล้ว มันได้ผลจริงๆหรือ
- การปลูกผมแบบ Follicular Unit Transplantation ( FUT ) ทำครั้งเดียวสร้างเส้นผมใหม่ที่ถาวร
- ศัลยกรรมปลูกผมแบบ Follicular Unit Extraction ( FUE ) สร้างเส้นผมถาวร แบบ ไร้รอยแผล
- ผ่าตัดโหนกแก้ม ความสวยแบบถาวร กับโครงหน้าใหม่ไร้ที่ติ
- ซิลิโคนแต่ละแบบ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไรกันบ้างนะ
- การเตรียมตัวเองก่อนไปเสริมจมูก แบบง่ายๆ ที่คลินิกทั่วโลกเขาใช้กัน
- อยากสวยต้องรู้ วัสดุที่นำมาใช้ในการเสริมจมูกได้แก่อะไรบ้าง
- เสริมจมูกแบบไหน และอย่างไรดี ถึงจะปัง พร้อมข้อดีและเสีย
- แป้งเจ้านาง พัฟแห้ง เปียก ภายในตัว กันน้ำ ปกติดริ้วรอยได้ดังใจ
- How to น่ารู้สำหรับสาวๆ ที่อยากสวยด้วยวิธีการร้อยไหม
- ปากกระจับ | ปากบาง | ปากปีกนก
- 3 วิธีปลูกผม Follicular Unit Extraction ( FUE ) ถาวร แบบธรรมชาติ
- ดูดไขมัน Water Jet ด้วยพลังงานน้ำอ่อนโยน ไม่ต้องดมยา
- ดูดไขมัน Power Assisted Liposuction
- ดูดไขมัน Smart Lipo มี ข้อดี-ข้อเสีย อย่างไร
- ดูดไขมันแบบ Body Tite แผลเล็กพร้อมกระชับผิวได้ภายในตัว
- ดูดไขมัน Vaser Liposelection ( VASER )
- 5 วิธีการดูดไขมัน ต้นแขน+ต้นขา สลายไขมันให้หายได้ภายในพริบตา
- คำถามที่พบบ่อยเรื่องการเสริมหน้าอก
- การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการเสริมหน้าอก พร้อม ผลข้างเคียง
- เสริมหน้าอก ทรงไหนดี ทรงซิลิโคน มีข้อดีข้อเสีย อย่างไรบ้าง
- วิธีลดต้นขา มีต้นขาใหญ่ อย่าไปกลัว เพราะมีวิธีแก้
ฉีดโบท็อกซ์
การ ฉีดโบท็อกซ์ ( Botox ) ช่วยยกกระชับปรับรูปหน้า และคนสมัยนี้ก่อนจะทำอะไรจะศึกษาข้อมูลอย่างดีก่อนที่จะตัดสินใจ จึงมีหลายคนตั้งคำถามว่า การฉีดโบท็อกนั้น มีอันตรายหรือไม่ ต้องทำอย่างไรบ้าง ซึ่งวันนี้เราจะมาหาคำตอบกัน
โบท็อกซ์ เป็นชื่อทางการค้าของสารโบทูลินั่มท็อกซินเอเป็นโปรตีนที่สร้างมาจากคลอสตริเดียมโบโทลินั่มซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ การ ฉีดโบท็อก นั้น ถ้าฉีดในปริมาณที่พอดี ก็มีส่วนช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัว ในยุคแรกแพทย์จึงนำมาฉีดลดอาการตาเข แล้วแพทย์สังเกตว่าริ้วรอยรอบดวงตาลดลง จนเป็นที่มาของการฉีดโบท็อกซ์เพื่อปรับรูปหน้านั่นเอง ใครอยากจะทำโบท็อกซ์ต้องมาศึกษาข้อมูลกันก่อน
ฉีดโบท็อกซ์อันตรายไหม
นี่คงเป็นอีกคำถามที่หลายคนยังกังขาและพยายามที่จะค้นหาคำตอบว่า ฉีดโบท็อกซ์ นั้นปลอดภัยมากแค่ไหน ต้องบอกเลยว่า ยังไม่มีการรายงานถึงอันตรายเกี่ยวกับการฉีดโบท็อกซ์เลย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ แต่ถ้าจะให้ดี ต้องใช้ตัวยาที่มีคุณภาพ ฉีดกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น เพราะว่า ถ้าหากเลือกไม่ดี อาจมีผลข้างเคียงได้ นั่นคือ หลับตาไม่สนิท ตาผิดรูป ปากเบี้ยว เป็นต้น แต่ถ้าตัวยาที่ใช้มีคุณภาพ และดูแลโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ก็ไม่ต้องกังวลอะไรเลย
ทำใจยอมรับความเสี่ยง: แต่ส่วนตัวคิดว่า ทุกอย่างมันก็ความเสี่ยงอยู่ในตัวทั้งนั้นแหละ ถึงแม้ว่ามันจะไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตก็เถอะ โดยเฉพาะ การฉีด botox กับ หมอกระเป๋า หมอกระปี๋ กับ ธุรกิจความงาม ( ที่ไม่งาม ) เพราะตายกันมาเยอะแล้ว ก็อยากจะเตือนคนที่กำลังตัดสินใจไปทำด้วยนะ ถ้าไม่รู้ว่าจะไปฉีดโบท็อกซ์ ที่ไหนดี ลองหาข้อมูลเพิ่มเติมจาก pantip เอาก็แล้วกัน
ฉีดโบท็อกซ์ช่วยในเรื่องอะไรบ้าง
สำหรับใครที่อยาก ฉีดโบท็อกซ์ นั้น ก็ควรจะเรียนรู้ไว้บ้างว่า การฉีดสารนี้ช่วยในเรื่องของการทำให้ใบหน้าเรียว ลดริ้วรอย ทำให้ตีนกาลดลง หน้าดูเด็กขึ้นด้วย โดยโบท็อกนั้นจะสามารถฉีดเข้าเส้นที่หน้าผาก ตีนกา ร่องแก้ หรือตรงเส้นรอยยิ้ม คิ้ว หรืออาจจะฉีดร่วมกับคอลลาเจนเพื่อฟื้นฟูผิวก็ได้ ฉีดโบท๊อกดีไหม ก็ต้องแล้วแต่ความพึงพอใจของแต่ละท่าน
3 ตำแหน่งต้องห้าม! ที่ไม่ควรฉีดโบท็อกซ์”
จุดแรกที่เราไม่ควร ฉีดโบท็อกซ์
1.หางคิ้วด้านนอก : เพราะว่าในบริเวณนี้จะมีเส้นประสาทที่ทำหน้าที่ในการยักคิ้ว ในกรณีที่เราฉีดเข้าไป จะทำให้การส่วนนั้นถูกใช้งานได้น้อยลง ผลที่ตามมาก็คือ จะทำให้หางคิ้วหล่น ซึ่งจะทำให้เราดูหน้าเศร้าตลอดเวลา
2.บริเวณเปลือกตา : จะมีเส้นประสาทในส่วนของการกระพริบตา ซึ่ง บอกเลยว่าอันตรายมาก เพราะอาจจะทำให้ ตาตก งั้นจำเอาไว้เลยว่า จุดนี้ เป็นจุดที่ควรระวังมากที่สุด ฉีด botox ทั้งที จะฉีดทำไมให้ตาปิดละ จริงไหม ?
3.มุมปาก ร่องแก้ม : จุดๆนี้ จะมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการยิ้ม ยิ้มส่วนบนคือร่องแก้ม ยิ้มอีกส่วนนึงคือมุมปาก ในกรณีที่ฉีดไป จะมีโอกาสทำให้ปากตก ทำให้หน้าของเราบึ้ง ตลอดเวลา
การเตรียมตัวก่อนการฉีดโบท็อกซ์
ต้องตรวจเช็คร่างกายตนเองก่อนว่าคุณมีความพร้อมที่จะเข้ารับการ ฉีดโบท็อกซ์ แค่ไหน เช่น ตัวคุณนั้นต้องไม่มีโรคประจำตัว ถ้ามีต้องปรึกษาแพทย์ก่อนว่าเป็นโรคนี้จะฉีดได้ไหม และถ้าตั้งครรภ์อยู่ก็ไม่ควรฉีดเด็ดขาดเลย และที่สำคัญคุณควรจะหยุดทานอาหารเสริมประเภทวิตามินอี น้ำมันปลา โสม หรือสมุนไพรที่ทำให้ร่างกายร้อนประมาณ 2-3 วันก่อนฉีด และอย่าลืม และห้ามกินยาแก้อักเสบหรือแอสไพรินก่อนการฉีดยา 1 อาทิตย์
เลือกฉีดโบท็อกซ์ ฉีดได้บริเวณไหนบ้าง และจะดูแลรักษาได้อย่างไร
เราสามารถ ฉีดโบท็อกซ์ ได้ทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็ก ซึ่งก็มีข้อปฏิบัติที่แตกต่างกัน กล้ามเนื้อมัดใหญ่นั้นได้แก่ กล้ามเนื้อกราม และน่อง โดยหลังการฉีด 2 วัน งดดื่มแอลกอฮอล์เลยเด็ดขาด จะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ทำให้โบท็อกซ์ที่ฉีดไปย่อยสลาย หลังจากฉีดอาจเกิดรอยแดงหรือบวมในจุดที่ฉีดแต่จะหายไปเอง ภายใน 1 วัน และหากคุณนั้นทานวิตามินอีหรือแอสไพริน น้ำมันปลา ฯลฯ อาจทำให้เกิดรอยช้ำได้ แต่ว่าจะหายไปภายใน 1 สัปดาห์
กล้ามเนื้อมัดเล็ก คือ บริเวณหน้าผาก หางตา และระหว่างคิ้ว ตัวยาจะออกฤทธิ์ใน 1 อาทิตย์ หลังจากฉีดแล้ว 4 ชั่วโมง ยังไม่ควรนอนราบหรือนอนตะแคง เพราะว่า การกระจายตัวของยาอาจผิดตำแหน่งจากที่แพทย์คาดไว้ และต้องคอยบริหารกล้ามเนื้อที่ฉีดบ่อยๆด้วย เช่น ถ้าฉีดกรามก็ควรเคี้ยวหมากฝรั่งบ้าง ซึ่งก็แล้วแต่แพทย์ว่าจะให้เคี้ยวนานเท่าไร ในสองอาทิตย์ ไม่ควรอบไอน้ำ อบซาวน้ำ หรือทำไออนโต เพราะจะส่งผลต่อสารโบท็อกซ์ได้ แต่ว่ายังสามารถอาบน้ำอุ่น ไดร์ผม โดนแดดที่ไม่จัดได้ และหลังจากทำ 1 อาทิตย์ก็สามารถแต่งหน้า ทาแป้งได้ตามปกติ
ฉีดโบท็อกซ์ต้องฉีดซ้ำไหม อยู่ได้นานเท่าไร
สำหรับการ ฉีดโบท็อกซ์ นั้น จะอยู่ได้อีก 4-5 เดือน หลังจากนี้จะต้องฉีดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ไม่เป็นไรหรอกเพื่อความสวยเราก็ยอมทุ่ม จริงไหม
ค่าใช้จ่ายในการฉีดโบท็อกซ์
ความจริงแล้วค่าใช้จ่ายจะอยู่ที่หลักหมื่นขึ้นไปขึ้นอยู่กับตัวยาและผลลัพธ์ที่การฉีดโบท็อกซ์นั้น สามารถฉีดได้ตามสถาบันเสริมความงาม เพราะฉะนั้นเพื่อเป็นการดึงดูดลูกค้า จะมีการทำโปรโมชั่นลดราคา ซึ่งจะเหลืออยู่ที่หลักพันเท่านั้นเอง ก็แล้วแต่ว่า คุณนั้นจะเลือกทำกับสถาบันเสริมความงามที่ไหนก็ได้ แต่ว่าต้องเลือกที่มีคุณภาพมาตรฐาน ทำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
โบท็อกซ์แท้ ดูยังไง
ใครที่คิดอยากจะ ฉีดโบท็อกซ์ ก็ขอให้ศึกษารายละเอียดให้ดี เพื่อประกอบการตัดสินใจให้ดี แต่รับรองว่าผลข้างเคียงมีน้อยมาก ๆ แถมฟื้นตัวได้เร็ว สวยเร็ว ราคาไม่แพงแบบนี้ ก็น่าทำนะ
ฉีดโบท็อกที่ไหนดี
การ ฉีดโบท็อกซ์, ยกกระชับหน้า, ร้อยไหม ไม่ว่าอะไรก็ตามที่นำสารเข้าร่างกาย ควรพิจารณาถึงผลกระทบทั้งผลดีและผลเสีย ที่สำคัญต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเป็นคนปฏิบัติการ ควรใช้บริการฉีดโบท็อกที่มีมาตรฐาน เช่น โรงพยาบาล และ สถานพยาบาลชั้นนำ https://www.vsquareclinic.com/tips/what-is-botox/
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
Pacik PT (December 2009). “Botox treatment for vaginismus”. Plastic and Reconstructive Surgery. 124 (6): 455e–56e. doi:10.1097/PRS.0b013e3181bf7f11. PMID 19952618.