- อาหารเพิ่มเลือด สำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับคีโม
- เชื้อพยาธิเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงหรือ ?
- อาหารเสริม ทางการแพทย์ที่เหมาะกับผู้ป่วยมะเร็ง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อหัวใจ
- การฉายรังสีรักษามะเร็งมีผลข้างเคียงต่อการมองเห็นอย่างไร
- การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- ผลกระทบจากการฉายรังสีรักษามะเร็งต่อระบบไหลเวียนโลหิต
- โครงสร้าง และ ส่วนประกอบของเต้านม
- การตรวจหามะเร็ง มีวิธีการตรวจอะไรบ้าง
- การพบแพทย์เพื่อประเมินผล และติดตามผลผู้ป่วยมะเร็ง
- มะเร็งดวงตา กับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีผลกระทบอะไรบ้าง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อกระดูก
- ผลข้างเคียงจากการฉายแสงรักษามะเร็งศีรษะ และ มะเร็งลำคอ
- ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งในเด็ก
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีที่มีต่อไขกระดูก
- ผลข้างเคียงของการใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับการฉายรังสี
- วิธีตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งและประเมินระยะของโรค
- ผลข้างเคียงจากการรักษาร่วมระหว่างการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด
- มะเร็งกระเพาะอาหาร เกิดจากกรดไหลย้อนเรื้อรังโดยไม่รู้ตัว
- มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( Lymphoma )
- ผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือ คีโม
- ฉายแสงรักษามะเร็ง มีผลข้างเคียงอย่างไร
- มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ( Urinary Bladder Cancer )
- มะเร็งที่พบบ่อยทั้งในผู้หญิงและผู้ชายในประเทศไทย
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
- มะเร็งองคชาต ( Penile Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็ง โรคที่คนไทยเป็นเยอะสุด
- มะเร็งหลอดอาหาร ( Esophageal Cancer ) มีสาเหตุและอาการของโรคอย่างไร
- มะเร็งตับอ่อน ( Pancreatic Cancer )
- มะเร็งไต ( Kidney Cancer ) อาการ สาเหตุ และการรักษา
- มะเร็งเม็ดเลือดขาว ( Leukemia )
- มะเร็งลำไส้ใหญ่ ( Colorectal Cancer )
- มะเร็งทวารหนัก ( Anal Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งอัณฑะ ( Testicular Cancer )
- มะเร็งรังไข่ อาการ สาเหตุ และการรักษา ( Ovarian Cancer )
- มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ( Endometrial Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งปากมดลูก ( Cervical Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์หรือการปลูกถ่ายไขกระดูก
- กระบวนการรักษาโรคมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการศึกษา
- เนื้องอกในสมอง มะเร็งสมอง ( Brain Cancer )
- มะเร็งตับ ( Liver Cancer )
- มะเร็งต่อมลูกหมาก ( Prostate Cancer )
- มะเร็งซาร์โคมามดลูก ( Sarcoma ) สาเหตุ อาการเบื้องต้นและวิธีการรักษา
- มะเร็งกรวยไต และ มะเร็งท่อไต
- มะเร็งปอด ( Lung Cancer ) สาเหตุ อาการ และวิธีรักษา
- มะเร็งระยะสุดท้ายรักษาหายได้ไหม มีชีวิตอยู่ได้นานแค่ไหน
- มะเร็งในเด็ก ( Pediatric Cancer )
- มะเร็งถุงน้ำดี ( Gallbladder Cancer )
- มะเร็งท่อน้ำดี ( Cholangiocarcinoma หรือ CCA )
- มะเร็งย้อนกลับเป็นซ้ำและโรคมะเร็งชนิดที่ 2
- มะเร็งต่อมไทรอยด์ ( Thyroid Cancer )
- มะเร็งต่อมน้ำลาย ( Salivary Gland Cancer )
- มะเร็งช่องปาก โรคร้ายที่เกิดขึ้นภายในระบบศีรษะและลำคอ
- มะเร็งผิวหนัง ( Skin Cancer )
- มะเร็งโพรงไซนัส และ มะเร็งโพรงจมูก
- มะเร็งหลังโพรงจมูก สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา
- ถาม – ตอบ ปัญหาเกี่ยวกับมะเร็ง
- สารตรวจค่าเลือดเฟอร์ริติน ( Ferritin )
- การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
- การตรวจเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้ สัญญาณมะเร็ง
- สาเหตุของมะเร็ง ปัจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม และพันธุกรรม
- อาการมะเร็ง เบื้องต้น ฉบับล่าสุด 2020
- อาหารผู้ป่วยมะเร็ง
- อาหารต้านมะเร็ง เลือกกินอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็ง
- มะเร็งเกิดจากอะไร ? ( Causes of Cancer )
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ( Cancer Care )
- การตรวจ และรักษามะเร็ง
- ถาม – ตอบ ปัญหาโรคมะเร็ง
- ระยะของมะเร็ง ( Stage of Cancer )
- จะรู้ได้ไงว่าเป็นมะเร็ง?
- ชนิดของมะเร็งที่พบบ่อย
- มะเร็งเต้านม ( Breast Cancer ) มะเร็งอันดับ 1 ผู้หญิง
- อัลตร้าซาวด์ตรวจหามะเร็ง
- การอ่านค่าผลตรวจสุขภาพ
- การตรวจหาสารมะเร็ง – Tumor Marker
- มะเร็ง ( cancer ) โรคที่ทุกคนต้องรู้
- โรคมะเร็ง โรคร้ายที่ใครๆก็เป็นได้
- สัญญาณมะเร็ง การตรวจวินิจฉัยมะเร็ง
อาหารเพิ่มเลือด
อาหารเพิ่มเลือด สำหรับ ผู้ป่วยมะเร็ง ที่เข้ารับ คีโม หรือเคมีบำบัด มีความสำคัญทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการให้คีโม เนื่องจากร่างกายมักได้รับผลกระทบจากยาเคมีที่ใช้ในการรักษา ทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน น้ำหนักลด เม็ดเลือดลดต่ำ ภูมิต้านทานลดลง อ่อนเพลีย มีปัญหาการขับถ่าย ( ทั้งท้องผูกและท้องเสีย ) อาหารเพิ่มเม็ดเลือด จึงจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยมะเร็งรับประทาน
ดังนั้น จึงควรดูแลสภาวะโภชนาการของผู้เข้ารับคีโม โดยเลือกอาหารที่สะอาด ปรุงสุก เพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียจากอาหาร เนื่องจาก ยาคีโม จะส่งผลให้เม็ดเลือดขาวลดต่ำลง ทำให้ร่างกายมีโอกาสป่วยจากการติดเชื้อมากขึ้น ควรเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยเพิ่มเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว เช่น โปรตีน อัลบูมิน ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก วิตามินบี 12 แมกนีเซียม และ ธาตุสังกะสี ( Zinc ) เป็นต้น
อาหารเพิ่มเม็ดเลือดผู้ป่วยมะเร็ง
ก่อนให้คีโม ช่วงก่อนการให้ คีโม เป็นช่วงที่สำคัญที่สุด เพราะหากแพทย์ตรวจเลือดและความพร้อมของร่างกายแล้วพบว่า ผู้ป่วยมะเร็งมีระดับเม็ดเลือด น้ำหนักตัว ความดันเลือด และความแข็งแรงโดยรวมไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ แพทย์จะไม่ให้ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาด้วยคีโมและต้องรอจนกว่าร่างกายผู้ป่วยแข็งแรง พร้อมที่จะรับผลข้างเคียงของยาเคมีได้ จึงจะทำการรักษาให้ต่อไป ปัญหานี้เป็นอุปสรรคใหญ่ที่ผู้ป่วยมะเร็งจำนวนมากต้องหยุดการให้คีโมหลังจากทำไปได้เพียง 1-2 ครั้ง เสียโอกาสทางการรักษามะเร็งให้หายขาด ซ้ำร้ายกว่านั้นคือบางคนไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้เลยแม้แต่ครั้งเดียว จนมะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆทั่วร่างกาย อาหารเพิ่มเม็ดเลือดขาวจึงถูกผลิตขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยแข็งแรงทันได้รับการรักษา
ดังนั้นช่วงเวลา 14-20 วันก่อนการให้ คีโม จะต้องเตรียมร่างกายให้พร้อมที่สุด โดยเฉพาะการเลือกรับประทานอาหารเพิ่มเม็ดเลือด และโปรตีนช่วยเสริมความแข็งแรงให้ร่างกาย อาหารที่ควรบริโภค ได้แก่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน และปลาทะเล ( ปรุงด้วยวิธีต้ม นึ่ง ถ้าไม่ต้องการไขมันสูง ) นม หรือนมถั่วเหลือง ไข่ ( เลือกเฉพาะไข่ขาว ถ้าควบคุมระดับคอเลสเตอรอล ) อาหารเพิ่มเม็ดเลือด อยู่ในอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงเพื่อเพิ่มเม็ดเลือด เช่น เนื้อสัตว์ ตับ ม้าม ผักตำลึง ผักโขม ถั่วดำ ข้าว โอ๊ต อาหารที่มีวิตามินซี ( เมื่อกินคู่กับธาตุเหล็กจะช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีขึ้น ) เช่น ส้ม ฝรั่ง สตรอว์เบอร์รี่ อาหารที่มีกรดโฟลิกสูง เช่น เนื้อสัตว์ ตับ ผักป้วยเล้ง ผักคะน้า ผักโขม ผักกาดหางหงส์ หน่อไม้ฝรั่ง กระหล่ำดอก กระหล่ำปลี บร็อคโคลี่ แครอท ฟักทอง งดบริโภคชาและกาแฟที่ชงแบบเข้มๆ เพราะสาร Tannin จะยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก
ร่วมตอบคำถามกับเรา
[poll id=”20487″]
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
เอกสารอ้างอิง
“Principles of chemotherapy”. Clinical Techniques in Small Animal Practice.
“Successful application of targeted electrochemotherapy using novel flexible electrodes and low dose bleomycin to solid tumours”. Cancer Letters. 232 (2): 300–310.