- โรคปากนกกระจอก ควรรักษาอย่างไรบ้าง
- โรคบรูเซลโลซิส Brucellosis
- โรคลิชมาเนีย ( Leishmaniasis )
- หลอดลมฝอยอักเสบ คืออะไร ?
- โรคไม่ติดต่อจากคนสู่คน NCDs
- เลือดออกตามไรฟัน อาจเป็นสัญญาณเตือนการขาดวิตามินซีของร่างกาย
- โรคเหงือก การรักษาและวิธีการป้องกัน
- เชื้อราในปาก ที่เกิดในทารกและผู้สูงอายุอันตรายหรือไม่
- ต่อมลูกหมากโต มีแนวทางการรักษาอย่างไรให้หายขาด
- โรคด่างขาวเกิดจากอะไร มีวิธีรักษาหายขาดได้หรือไม่ บทความนี้มีคำตอบ
- ตาปลา เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- หูด เกิดจากสาเหตุอะไร และดูแลรักษาอย่างไร
- คีโต อาหารคีโตลดน้ำหนักได้จริงหรือไม่ หาคำตอบได้ที่บทความนี้
- ปลายประสาทอักเสบ สาเหตุ อาการ และการดูแลรักษา
- โรคฟีนิลคีโตนูเรีย อาการ สาเหตุ และการดูแลรักษา
- ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ( Gestational hypertension ) เกิดจากสาเหตุอะไร
- การตั้งครรภ์นอกมดลูก ( Ectopic pregnancy )
- ต่อมลูกหมากอักเสบ ( Prostatitis ) เกิดขึ้นได้อย่างไร
- ครรภ์เป็นพิษ ( Preeclampsia ) อันตรายหรือไม่
- ยุติการตั้งครรภ์ หรือการแท้งลูก ( Miscarriage ) เกิดได้อย่างไร
- มดลูกต่ำ ( Pelvic Organ Prolapse ) หรือ มดลูกหย่อน ( Prolapsed Uterus ) มีอาการอย่างไร
- คำถาม ยอดนิยมเกี่ยวกับผู้หญิงวัยทอง
- 10 สัญญาณเตือนผู้หญิงเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน หรือวัยทอง ( Menopause )
- โรคซิฟิลิส ( Syphilis )
- อาการร่างกายเคลื่อนไหวผิดปกติ ( Movement Disorder )
- อาการเลือดออกในทางเดินอาหาร
- อาการปวดท้อง ( Abdominal Pain )
- อาการกลืนลำบาก ( Dysphagia )
- อาการบวม ( Edema )
- อาการปวดศีรษะ ( Headache )
- อาการท้องเสีย ( Diarrhea )
- อาการอ่อนแรง ( Motor Weakness )
- อาการของเล็บที่พบบ่อย ( Common Nail Problem )
- อาการปัสสาวะเป็นเลือด ( Hematuria )
- อาการน้ำนมไหล ( Galactorrhea )
- อาการไอ ( Cough )
- อาการหายใจลำบาก ( Dyspnea )
- อาการผื่นตุ่มน้ำพองใส ( Vesiculobullous Eruption )
- อาการท้องมาน ( Ascites )
- อาการ เวียนศีรษะ ( Vertigo )
- อาการหายใจมีเสียงดังผิดปกติ ( Abnormal Sound During Breathing )
- อาการปัสสาวะออกน้อย ( Oliguria and Anuria )
- อาการไข้เฉียบพลัน ( Acute Febrile illness )
- อาการเป็นลมหมดสติ ( Syncope )
- ม้ามโต ( Splenomegaly) อาการ สาเหตุ
- ดีซ่าน ( Jaundice ) อาการ สาเหตุ
- ผื่นบนผิวหนัง ( Maculopapular Eruption ) อาการ สาเหตุ
- ประจำเดือนไม่มาหรือขาดประจำเดือน ( Amenorrhea )
- ปัสสาวะมากเกิดจากอะไร ( Polyuria )
- อาการเจ็บหน้าอก ( Chest pain ) บ่งบอกอะไร
- อาการตัวเขียว ( Cyanosis )
- ไข้และการมีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
- อาการใจสั่น ( Palpitation )
- ประจำเดือนมาไม่ปกติ ประจำเดือนไม่มา อันตรายหรือไม่ที่นี่มีคำตอบ
- 8 วิธีสำรวจกระดูกสันหลังผิดรูปอย่างง่าย
- กระดูกต้นคอผิดรูปทรง ต้นเหตุของสารพัดโรค
- การป้องกันและแก้ไขอาการปวดหลัง
- นิ้วล็อค ( Trigger Finger ) โรคยอดฮิตออฟฟิศซินโดรมที่ควรรู้
- วิธีแก้อาการกระดูกสันหลังผิดรูปทรงขณะนอนหลับ
- อาการปวดไหล่มีสาเหตุมาจากอะไร
- อาการปวดหัวเข่าที่มีสาเหตุมาจากอะไร
ปากนกกระจอก
ปากนกกระจอก ( Angular Cheilitis ) เป็น ภาวะผิวหนังริมฝีปากขาดความชุ่มชื้นทำให้เกิดการอักเสบบริเวณมุมปากข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง โดยส่วนใหญ่อาการผิดปกติของโรคปากนกกระจอกจะปรากฏเป็นรอยแดง ปากแห้ง รู้สึกแสบร้อน ปากเปื่อย เนื้อเยื้อในปากเป็นสีขาวและเจ็บที่มุมปากขณะอ้าปากหรือรับประทานอาหาร แต่จะหายไปเองภายใน 7 – 10 วัน
อาการของปากนกกระจอก
- รู้สึกเจ็บปวดแสบร้อนที่มุมปาก
- มีลักษณะผิวหนังที่มุมปากลอก ปากเป็นขุยและคัน
- เกิดผื่นแดง รอยแยกที่มุมปาก
- มีเลือดออก
- ริมฝีปากแห้งแตก (ขาดความชุ่มชื้น)
- รู้สึกตึงบริเวณมุมปากขณะอ้าปาก
- แผลพุพองมุมปาก
สาเหตุของปากนกกระจอก
โรคปากนกกระจอกขาดวิตามินอะไรคำตอบก็คือวิตามินบีนั่นเอง ซึ่งมักเกิดขึ้นบ่อยที่สุดในเด็กและผู้สูงอายุที่สูญเสียฟัน อาจทำให้ริมฝีปากบนยื่นออกมาเหนือริมฝีปากล่างและทำให้มุมปากลึกขึ้นซึ่งส่งผลให้มีน้ำลายอยู่ตลอดเวลาและส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง อาจมีเชื้อราในช่องปากยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคปากนกกระจอกได้ง่ายขึ้น สาเหตุหลัก ๆ มีดังต่อไปนี้
- มีน้ำลายออกมามากเกินไปที่มุมปาก
- การสะสมของคราบน้ำลายที่มุมปาก
- การเลียริมฝีปากบ่อย ๆ
- ริมฝีปากขาดความชุ่มชื้นเป็นเวลานาน
- การติดเชื้อรา
- การขาดวิตามินบี
- การขาดธาตุเหล็กและสังกะสี
- ผู้ที่แพ้ลิปสติก จนริมฝีปากแห้งมีรอยแดง
- โรคทางพันธุกรรมบางอย่าง เช่น ดาวน์ซินโดรม ( Down Syndrome )
- ฟันปลอมหลวม
- สภาพผิวแห้งแพ้ง่าย
- ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องและสุขภาพไม่ดี เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น
- แพ้ยาสีฟันทำให้มุมปากลอก
- การสูบบุหรี่เป็นระยะเวลาหลายปี
- มือสัมผัสกับสารเคมีแล้วจับโดนปาก
วิธีรักษาปากนกกระจอก
- หากเกิดจากการขาดสารอาหาร ให้รับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบีในปริมาณที่มากกว่าปกติ เช่น ข้าวกล้อง ผัก ผลไม้ เป็นต้น
- ทายาฆ่าเชื้อที่ปาก
- ทาลิปเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ปาก
- ควรดื่มน้ำให้มากๆ สามารถป้องกันปากแห้งได้
- ห้ามเลียริมฝีปาก
- งดสูบบุหรี่
- ไม่ควรใส่ฟันปลอมที่หลวม หรือคับเกินไป
- ควรสังเหตุอาการแพ้สารเคมีบางอย่าง เช่น ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก
- หากมีอาการที่รุนแรงมากขึ้นควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุที่แน่ชัด และทำการรักษาต่อไป
อย่างไรก็ตามการป้องกันปากนกกระจอกสามารถทำได้ด้วยตนเอง แค่กินอาหารประเภทธาตุเหล็ก วิตามินบี สามารถลดสาเหตุการเกิดโรคปากนกกระจอกได้โดยไม่ต้องรักษาทางการแพทย์ เพิ่มความชุ่มชื้นให้ริมฝีปากด้วยการดื่มน้ำและทาลิปสติกเพื่อบำรุงผิวปากเพียงเท่านี้คุณก็มีริมฝีปากที่สวยงาม
บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม