- มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ( Urinary Bladder Cancer )
- เชื้อพยาธิเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงหรือ ?
- อาหารเสริม ทางการแพทย์ที่เหมาะกับผู้ป่วยมะเร็ง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อหัวใจ
- การฉายรังสีรักษามะเร็งมีผลข้างเคียงต่อการมองเห็นอย่างไร
- การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- ผลกระทบจากการฉายรังสีรักษามะเร็งต่อระบบไหลเวียนโลหิต
- โครงสร้าง และ ส่วนประกอบของเต้านม
- การตรวจหามะเร็ง มีวิธีการตรวจอะไรบ้าง
- การพบแพทย์เพื่อประเมินผล และติดตามผลผู้ป่วยมะเร็ง
- มะเร็งดวงตา กับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีผลกระทบอะไรบ้าง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อกระดูก
- ผลข้างเคียงจากการฉายแสงรักษามะเร็งศีรษะ และ มะเร็งลำคอ
- ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งในเด็ก
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีที่มีต่อไขกระดูก
- ผลข้างเคียงของการใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับการฉายรังสี
- วิธีตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งและประเมินระยะของโรค
- ผลข้างเคียงจากการรักษาร่วมระหว่างการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด
- มะเร็งกระเพาะอาหาร เกิดจากกรดไหลย้อนเรื้อรังโดยไม่รู้ตัว
- มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( Lymphoma )
- ผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือ คีโม
- ฉายแสงรักษามะเร็ง มีผลข้างเคียงอย่างไร
- มะเร็งที่พบบ่อยทั้งในผู้หญิงและผู้ชายในประเทศไทย
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
- มะเร็งองคชาต ( Penile Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็ง โรคที่คนไทยเป็นเยอะสุด
- มะเร็งหลอดอาหาร ( Esophageal Cancer ) มีสาเหตุและอาการของโรคอย่างไร
- มะเร็งตับอ่อน ( Pancreatic Cancer )
- มะเร็งไต ( Kidney Cancer ) อาการ สาเหตุ และการรักษา
- มะเร็งเม็ดเลือดขาว ( Leukemia )
- มะเร็งลำไส้ใหญ่ ( Colorectal Cancer )
- มะเร็งทวารหนัก ( Anal Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งอัณฑะ ( Testicular Cancer )
- มะเร็งรังไข่ อาการ สาเหตุ และการรักษา ( Ovarian Cancer )
- มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ( Endometrial Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งปากมดลูก ( Cervical Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์หรือการปลูกถ่ายไขกระดูก
- กระบวนการรักษาโรคมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการศึกษา
- เนื้องอกในสมอง มะเร็งสมอง ( Brain Cancer )
- มะเร็งตับ ( Liver Cancer )
- มะเร็งต่อมลูกหมาก ( Prostate Cancer )
- มะเร็งซาร์โคมามดลูก ( Sarcoma ) สาเหตุ อาการเบื้องต้นและวิธีการรักษา
- มะเร็งกรวยไต และ มะเร็งท่อไต
- มะเร็งปอด ( Lung Cancer ) สาเหตุ อาการ และวิธีรักษา
- มะเร็งระยะสุดท้ายรักษาหายได้ไหม มีชีวิตอยู่ได้นานแค่ไหน
- มะเร็งในเด็ก ( Pediatric Cancer )
- มะเร็งถุงน้ำดี ( Gallbladder Cancer )
- มะเร็งท่อน้ำดี ( Cholangiocarcinoma หรือ CCA )
- มะเร็งย้อนกลับเป็นซ้ำและโรคมะเร็งชนิดที่ 2
- มะเร็งต่อมไทรอยด์ ( Thyroid Cancer )
- มะเร็งต่อมน้ำลาย ( Salivary Gland Cancer )
- มะเร็งช่องปาก โรคร้ายที่เกิดขึ้นภายในระบบศีรษะและลำคอ
- มะเร็งผิวหนัง ( Skin Cancer )
- มะเร็งโพรงไซนัส และ มะเร็งโพรงจมูก
- มะเร็งหลังโพรงจมูก สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา
- ถาม – ตอบ ปัญหาเกี่ยวกับมะเร็ง
- สารตรวจค่าเลือดเฟอร์ริติน ( Ferritin )
- การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
- การตรวจเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้ สัญญาณมะเร็ง
- สาเหตุของมะเร็ง ปัจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม และพันธุกรรม
- อาการมะเร็ง เบื้องต้น ฉบับล่าสุด 2020
- อาหารผู้ป่วยมะเร็ง
- อาหารต้านมะเร็ง เลือกกินอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็ง
- มะเร็งเกิดจากอะไร ? ( Causes of Cancer )
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ( Cancer Care )
- การตรวจ และรักษามะเร็ง
- ถาม – ตอบ ปัญหาโรคมะเร็ง
- ระยะของมะเร็ง ( Stage of Cancer )
- จะรู้ได้ไงว่าเป็นมะเร็ง?
- ชนิดของมะเร็งที่พบบ่อย
- มะเร็งเต้านม ( Breast Cancer ) มะเร็งอันดับ 1 ผู้หญิง
- อาหารเพิ่มเลือด สำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับคีโม
- อัลตร้าซาวด์ตรวจหามะเร็ง
- การอ่านค่าผลตรวจสุขภาพ
- การตรวจหาสารมะเร็ง – Tumor Marker
- มะเร็ง ( cancer ) โรคที่ทุกคนต้องรู้
- โรคมะเร็ง โรคร้ายที่ใครๆก็เป็นได้
- สัญญาณมะเร็ง การตรวจวินิจฉัยมะเร็ง
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ คือ การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งที่ผิดปกไม่สามารถควบคุมได้และมีการแพร่กระจายอย่างรวมเร็วในกระเพาะปัสสาวะและรุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกระเพาะปัสสาวะมีหน้าที่กักเก็บปัสสาวะที่ระบายออกจากไตผ่านไปยังท่อไตจากไตทั้ง 2 ข้างสามารถเก็บของปัสสาวะได้ประมาณ 400 – 600 มิลลิลิตร กระเพาะปัสสาวะของคนเราจะประกอบไปด้วยเซลล์หลายชนิด ซึ่งได้แก่ เซลล์ต่อมน้ำเหลือง กล้ามเนื้อ เยื่อเมือกบุ เส้นเลือดและกล้ามเนื้อ โดยเซลล์เหล่านี้ล้วนสามารถเกิดเป็นมะเร็งได้ทั้งสิ้น แต่ที่พบได้บ่อยมากที่สุดก็คือโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะนั่นเอง และมักจะเกิดจากเซลล์ของเยื่อเมือกบุภายในกระเพาะปัสสาวะเป็นส่วนใหญ่
อาการของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะมีอะไรบ้าง
- ปวดหลัง
- น้ำหนักลด
- เท้าบวม
- ปัสสาวะเป็นเลือด
- ปัสสาวะบ่อย
- ปวดขณะปัสสาวะ
- กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
- ปวดกระดูกเชิงกราน
สาเหตุของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ไม่พบสาเหตุที่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าน่าจะเกิดจากหลายปัจจัยเสี่ยงรวมกัน ซึ่งได้แก่
- ครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
- การกลายพันธุ์ของยีนบางชนิด
- การสัมผัสกับสารเคมีในสถานที่ทำงานมากเกินไป
- การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเรื้อรัง
- เป็นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
- การสูบบุหรี่จัด หรือสูบบุหรี่เป็นประจำ
การวินิจฉัยโรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
แพทย์จะวินิจฉัยอาการเบื้องต้นโดยรวม ซักประวัติผู้ป่วยและซักประวัติของคนในครอบครัวรวมทั้ง
- การตรวจภายใน โดยนิ้วสอดเข้าไปทางทวารหนักหรือช่องคลอดเพื่อคลำหาสิ่งผิดปกติ
- การตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
- การตรวจปัสสาวะ เพื่อวิเคราะห์ปัสสาวะหากมีเลือดปนในปัสสาวะ อาจต้องส่งตัวอย่างปัสสาวะไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อค้นหาเชื้อมะเร็ง
- การสแกนอัลตร้าซาวด์ เพื่อหาว่ามีก้อนมะเร็งหรือไม่ และถ้ามีก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่เพียงใด
- การส่องกล้อง เพื่อตรวจดูเยื่อบุ ซีส ก้อนเนื้องอก หรือเซลล์มะเร็งด้านในของกระเพาะปัสสาวะ
- การเอกซเรย์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อถ่ายภาพภายในร่างกายที่มีความผิดปกติ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะมีกี่ระยะ
โรคมะเร็งชนิดนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะเช่นเดียวกับโรคมะเร็งชนิดอื่นๆ โดยได้แก่
ระยะที่ 1 เป็นระยะที่มะเร็งลุกลามไม่มาก โดยจะลุกลามไปเฉพาะที่ชั้นเยื่อบุภายในของกระเพาะปัสสาวะเท่านั้น
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่มะเร็งได้ลุกลามไปยังชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะ
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่มีความรุนแรงในระดับหนึ่ง ซึ่งระยะนี้มะเร็งได้ลุกลามออกไปนอกกระเพาะปัสสาวะเข้าเนื้อ เยื่อรอบ ๆ กระเพาะปัสสาวะแล้วนั่นเอง
ระยะที่ 4 เป็นระยะที่รุนแรงที่สุด โดยมะเร็งได้ลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ ในร่างกาย และแพร่กระจายเข้าสู่ต่อมน้ำเหลืองและเส้นเลือด ซึ่งก็อยู่ในระยะที่รักษาให้หายได้ยาก
การรักษามะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
สำหรับการรักษาจะขึ้นอยู่กับการพิจารณาของแพทย์ โดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีการรักษาด้วยการผ่าตัด ใช้รังสีรังษาและทำเคมีบำบัด ซึ่งยังไม่มียารักษาที่ตรงเป้า โดยในปัจจุบันก็กำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาวิจัยยาอยู่นั่นเอง
การป้องกันมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
การป้องกันโรคมะเร็งชนิดนี้ ก็ยังไม่มีวิธีการป้องกันที่ชัดเจนเช่นกัน ดังนั้นต้องอาศัยการหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งแทน หากหลีกเลี่ยงได้ ก็จะลดโอกาสการเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะไปได้เยอะ
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคมะเร็งมักไม่แสดงอาการออกมาให้เห็นได้ชัดเจนในช่วงเริ่มต้น แต่จะรู้ได้อย่างไรว่ากำลังเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะแล้วเมื่อไหร่ควรไปพบแพทย์ หากสังเกตเห็นความผิดปกติของสีปัสสาวะ ปวดขณะปัสสาวะหรือปัสสาวะมีเลือดปนออกมา ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุที่แน่ชัดขอคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญร่วมกับวางแผนการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำตรงจุด เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนก่อนและหลังการรักษาได้นั่นเอง
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงพวงทอง ไกรพิบูลย์. รู้ก่อนเข้าใจการตรวจรักษามะเร็ง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557.
พยาบาลสาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. “การดูแลผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะหลังผ่าตัดเปลี่ยนช่องทางขับถ่ายปัสสาวะ”. (พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.tci-thaijo.org. [05 พ.ค. 2017].
โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว. “มะเร็งตับกระเพาะปัสสาวะ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.moderncancerthai.com. [04 พ.ค. 2017].