- ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์หรือการปลูกถ่ายไขกระดูก
- เชื้อพยาธิเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้จริงหรือ ?
- อาหารเสริม ทางการแพทย์ที่เหมาะกับผู้ป่วยมะเร็ง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อหัวใจ
- การฉายรังสีรักษามะเร็งมีผลข้างเคียงต่อการมองเห็นอย่างไร
- การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- ผลกระทบจากการฉายรังสีรักษามะเร็งต่อระบบไหลเวียนโลหิต
- โครงสร้าง และ ส่วนประกอบของเต้านม
- การตรวจหามะเร็ง มีวิธีการตรวจอะไรบ้าง
- การพบแพทย์เพื่อประเมินผล และติดตามผลผู้ป่วยมะเร็ง
- มะเร็งดวงตา กับการรักษาด้วยการฉายรังสี มีผลกระทบอะไรบ้าง
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีต่อกระดูก
- ผลข้างเคียงจากการฉายแสงรักษามะเร็งศีรษะ และ มะเร็งลำคอ
- ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งในเด็ก
- ผลข้างเคียงจากการฉายรังสีที่มีต่อไขกระดูก
- ผลข้างเคียงของการใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับการฉายรังสี
- วิธีตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งและประเมินระยะของโรค
- ผลข้างเคียงจากการรักษาร่วมระหว่างการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด
- มะเร็งกระเพาะอาหาร เกิดจากกรดไหลย้อนเรื้อรังโดยไม่รู้ตัว
- มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( Lymphoma )
- ผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือ คีโม
- ฉายแสงรักษามะเร็ง มีผลข้างเคียงอย่างไร
- มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ( Urinary Bladder Cancer )
- มะเร็งที่พบบ่อยทั้งในผู้หญิงและผู้ชายในประเทศไทย
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
- มะเร็งองคชาต ( Penile Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็ง โรคที่คนไทยเป็นเยอะสุด
- มะเร็งหลอดอาหาร ( Esophageal Cancer ) มีสาเหตุและอาการของโรคอย่างไร
- มะเร็งตับอ่อน ( Pancreatic Cancer )
- มะเร็งไต ( Kidney Cancer ) อาการ สาเหตุ และการรักษา
- มะเร็งเม็ดเลือดขาว ( Leukemia )
- มะเร็งลำไส้ใหญ่ ( Colorectal Cancer )
- มะเร็งทวารหนัก ( Anal Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งอัณฑะ ( Testicular Cancer )
- มะเร็งรังไข่ อาการ สาเหตุ และการรักษา ( Ovarian Cancer )
- มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ( Endometrial Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- มะเร็งปากมดลูก ( Cervical Cancer ) สาเหตุ อาการ และการรักษา
- กระบวนการรักษาโรคมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการศึกษา
- เนื้องอกในสมอง มะเร็งสมอง ( Brain Cancer )
- มะเร็งตับ ( Liver Cancer )
- มะเร็งต่อมลูกหมาก ( Prostate Cancer )
- มะเร็งซาร์โคมามดลูก ( Sarcoma ) สาเหตุ อาการเบื้องต้นและวิธีการรักษา
- มะเร็งกรวยไต และ มะเร็งท่อไต
- มะเร็งปอด ( Lung Cancer ) สาเหตุ อาการ และวิธีรักษา
- มะเร็งระยะสุดท้ายรักษาหายได้ไหม มีชีวิตอยู่ได้นานแค่ไหน
- มะเร็งในเด็ก ( Pediatric Cancer )
- มะเร็งถุงน้ำดี ( Gallbladder Cancer )
- มะเร็งท่อน้ำดี ( Cholangiocarcinoma หรือ CCA )
- มะเร็งย้อนกลับเป็นซ้ำและโรคมะเร็งชนิดที่ 2
- มะเร็งต่อมไทรอยด์ ( Thyroid Cancer )
- มะเร็งต่อมน้ำลาย ( Salivary Gland Cancer )
- มะเร็งช่องปาก โรคร้ายที่เกิดขึ้นภายในระบบศีรษะและลำคอ
- มะเร็งผิวหนัง ( Skin Cancer )
- มะเร็งโพรงไซนัส และ มะเร็งโพรงจมูก
- มะเร็งหลังโพรงจมูก สาเหตุ อาการ และวิธีการรักษา
- ถาม – ตอบ ปัญหาเกี่ยวกับมะเร็ง
- สารตรวจค่าเลือดเฟอร์ริติน ( Ferritin )
- การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
- การตรวจเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้ สัญญาณมะเร็ง
- สาเหตุของมะเร็ง ปัจจัยเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม และพันธุกรรม
- อาการมะเร็ง เบื้องต้น ฉบับล่าสุด 2020
- อาหารผู้ป่วยมะเร็ง
- อาหารต้านมะเร็ง เลือกกินอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็ง
- มะเร็งเกิดจากอะไร ? ( Causes of Cancer )
- การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ( Cancer Care )
- การตรวจ และรักษามะเร็ง
- ถาม – ตอบ ปัญหาโรคมะเร็ง
- ระยะของมะเร็ง ( Stage of Cancer )
- จะรู้ได้ไงว่าเป็นมะเร็ง?
- ชนิดของมะเร็งที่พบบ่อย
- มะเร็งเต้านม ( Breast Cancer ) มะเร็งอันดับ 1 ผู้หญิง
- อาหารเพิ่มเลือด สำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับคีโม
- อัลตร้าซาวด์ตรวจหามะเร็ง
- การอ่านค่าผลตรวจสุขภาพ
- การตรวจหาสารมะเร็ง – Tumor Marker
- มะเร็ง ( cancer ) โรคที่ทุกคนต้องรู้
- โรคมะเร็ง โรคร้ายที่ใครๆก็เป็นได้
- สัญญาณมะเร็ง การตรวจวินิจฉัยมะเร็ง
ไขกระดูก คืออะไร?
ไขกระดูก คือ เนื้อเยื่อที่อยู่ภายในโครงกระดูกทุกชิ้นภายในร่างกายของคนเรา โดยที่ไขกระดูกจะมีหน้าที่ในการสร้างเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด อีกทั้งไขกระดูก ยังประกอบไปด้วยเซลล์ต้นกำเนิดของเม็ดเลือดชนิด ต่าง ๆ อีกด้วย
สเต็มเซลล์ คืออะไร?
สเต็มเซลล์ คือ เซลล์ตัวอ่อน ที่มีอยู่ภายในเนื้อเยื่อ หรือ อวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกายของคนเรา ซึ่งถือได้ว่าเป็นเซลล์ต้นกำเนิด ทำให้มีคุณสมบัติในการแบ่งตัว สามารถเจริญเติบโต และคอยทำหน้าที่ได้เหมือนกับเซลล์ และ เนื้อเยื่อ พร้อมทั้งอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกายของเราได้ เมื่อมีการปลูกถ่ายสเต็มเซลล์เกิดขึ้น สเต็มเซลล์ที่ถูกปลูกถ่ายจึงสามารถเจริญเติบโต จนกลายเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะในส่วนต่าง ๆ ได้นั่นเอง
ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ ซึ่งในปัจจุบัน การปลูกถ่าย ไขกระดูก หรือ ปลูกถ่าย สเต็มเซลล์ นั้น ถือได้ว่ามีวิธีการรักษาและทำการปลูกถ่ายที่ดีและมีประสิทธิภาพ ทำให้การปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ สเต็มเซลล์ เป็นอีกหนึ่งวิธีในการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว และ โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง แต่สำหรับโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ ยังคงไม่สามารถทำการรักษาด้วยวิธีการปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ สเต็มเซลล์ได้ ซึ่งอยู่ในช่วงของการศึกษาอยู่เช่นกัน
ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ รักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ สำหรับการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ( Leukemia ) และ โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( Lymphoma ) ด้วยการปลูกถ่าย ไขกระดูก หรือ สเต็มเซลล์ จะใช้รักษาเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสองชนิดนี้ ที่อยู่ในช่วงของโรคที่มีระดับความรุนแรงสูง อย่างเช่น โรคอยู่ในช่วงดื้อยาเคมีบำบัด โรคมีโอกาสที่จะย้อนกลับมาเป็นซ้ำ เป็นต้น
วิธีการปลูกถ่ายไขกระดูก และ สเต็มเซลล์
นับได้ว่าเป็นการรักษาโดยจะมีการกำจัดไขกระดูก ที่ยังคงมีโรคหรือเชื้อของโรคมะเร็งอยู่ให้หมดไป ซึ่งการกำจัดที่ว่านี้จะทำได้ด้วยเคมีบำบัด บางครั้งอาจจะมีการกำจัดร่วมกันกับการฉายรังสีรักษา ซึ่งภายหลังจากที่ได้กำจัดแล้ว จะต้องมีการปลูกถ่ายเซลล์ ไขกระดูก และ สเต็มเซลล์ เข้าไปแทนที่ทันที โดยจะมีการส่งเซลล์ปกติให้กับผู้ป่วยทางหลอดเลือดดำ คล้ายคลึงกับการให้เลือด โดยที่เซลล์จะเข้าไปเจริญเติบโตภายในโพรงกระดูก จนกระทั่งกลายเป็นเซลล์ไขกระดูกแบบปกติ
เซลล์ไขกระดูก และ สเต็มเซลล์ ได้มาจากที่ไหน?
เซลล์ไขกระดูก และ สเต็มเซลล์ ส่วนใหญ่แล้วจะได้มาจากหลายทางด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น เซลล์จากตัวผู้ป่วยโดยตรง ซึ่งแพทย์จะมีวิธีเก็บจากเลือดของผู้ป่วย ซึ่งเรียกว่า ฟีรีซีส ซึ่งได้มาจากเลือดภายในสายสะดือ ซึ่งจะถูกเก็บไว้ตั้งแต่แรกเกิด หรือ อาจจะเป็น ไขกระดูก ของคนภายในครอบครัว หรือ คนอื่น ๆ ที่มีเซลล์ต้นกำเนิด ซึ่งร่างกายของผู้ป่วยจะต้องยอมรับ และ เข้ากับผู้ป่วยได้เท่านั้น ซึ่งแพทย์จะเลือกใช้เฉพาะสเต็มเซลล์จากแหล่งที่มีความพร้อมเท่านั้นอีกด้วย
ช่วงของการรักษาด้วยวิธีการปลูกถ่ายไขกระดูก และ สเต็มเซลล์
ในส่วนของการรักษาด้วยวิธีการปลูกถ่าย ไขกระดูก และ สเต็มเซลล์ ถือได้ว่าเป็นการรักษาที่ค่อนข้างจะยุ่งยาก มีความซับซ้อน และจำเป็นจะต้องใช้ระยะเวลาในการรักษานานเป็นเดือน ๆ ซึ่งในช่วงที่อยู่ในผู้ป่วยเข้ารับการรักษานั้น ผู้ป่วยจะต้องอยู่ห้องแยกไปจากผู้ป่วยโดยทั่วไป อีกทั้งในระหว่างที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาอยู่นี้ อาจจะต้องพบเจอกับสภาวะแทรกซ้อนที่ค่อนข้างจะรุนแรง อาจะส่งผลทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้เช่นกัน หากผู้ป่วยอยู่ในช่วงที่ไขกระดูกและสเต็มเซลล์ยังไม่เจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่ และผู้ป่วยมีอาการติดเชื้ออย่างรุนแรง เนื่องจากร่างกายขาดเม็ดเลือดขาว จนไม่สามารถควบคุมได้ และยังคงขาดเกล็ดเลือดของผู้ป่วยอยู่
ส่วนค่าใช้จ่ายในการรักษา ถือได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ผู้ป่วยบางกลุ่มอาจจะไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการนี้ได้ ซึ่งปัจจุบันแพทย์และโรงพยาบาลได้พยายามตั้งมูลนิธิขึ้นมา เพื่อที่จะมีเงินบริจาคให้กับผู้ป่วยที่ต้องการรักษาด้วยวิธีการนี้โดยตรง
ร่วมตอบคำถามกับเรา
[poll id=”20387″]
บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
เอกสารอ้างอิง
“Palliative care. Clinical practice guidelines in oncology”. Journal of the National Comprehensive Cancer Network. National Comprehensive Cancer Network. 4 (8): 776–818. PMID 16948956.
Jump up Waldmann TA (March 2003). “Immunotherapy: past, present and future”. Nature Medicine. 9 (3): 269–77.